Page 15 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 15
กองกิจการร้านสวัสดิการกลาง
www.awd-rta.com
โดยอาศัยข้อมูลจากแชทหรือโพสต์ต่าง ๆ เป็นตัวช่วยในการ
สวมรอยหรือปลอมแปลงข้อมูลเพื่อหลอกลวงประชาชน เช่น
การส่งข้อความแชทเพื่อหลอกให้โอนเงิน หรือ การปลอม
แปลงสลิปโอนเงินในการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ซึ่งถ้าหากเราไม่
ระวังอาจท าให้สูญเสียเงิน หรือ เสียผลประโยชน์ทางธุรกิจได้
วิธีรับมือและป้องกัน
่
1. อยาหลงเชอขอความผานแชทเพอขอให้โอนเงิน หรือ
้
่
ื่
ื่
หากพูดถึงภัยไซเบอร์ในปัจจุบัน เชื่อว่าหลายคนเคยได้ยน ขอข้อมูลใด ๆ หากผู้ส่งข้อความเป็นเพื่อน ควรติดต่อเพื่อน
ิ
ข่าวการโจมตีสถาบันการเงิน ภาคธุรกิจต่าง ๆ หรือหน่วยงาน โดยตรงผ่านช่องทางอื่นเพื่อยืนยันตัวตนและจุดประสงค์ก่อน
ภาครัฐมาบ้างแล้ว แต่ในความเป็นจริงนั้น ภัยไซเบอร์
2. ควรตรวจสอบสลิปโอนเงินจากผู้โอนให้มั่นใจก่อนยืนยัน
อยู่ใกล้ตัวเรามากกว่าที่คิด วันนี้เราจะพาไปท าความรู้จัก
การโอนเงินทุกครั้ง
ภัยไซเบอร์ใกล้ตัวแต่ละประเภทที่ควรรู้ รวมถึงแนะน าวิธี
รับมือและป้องกันตนเองจากภัยที่อาจเกิดขึ้น ภัยประเภทที่ 2 อีเมลหลอกลวง (Phishing)
ื่
ภัยประเภทที่ 1 มิจฉาชีพบน Social Media ทุกวันนี้เราทุกคนมีอีเมลเพอใช้ในชีวิตประจ าวัน และ
สมัครบริการต่าง ๆ บนโลกออนไลน์ จึงไม่ถือเป็นเรื่องแปลกที่
เหล่ามิจฉาชีพจะนิยมใช้ช่องทางนี้ในการแสวงหาผลประโยชน์
ซึ่งหนึ่งในกรณีที่พบเห็นบ่อย คือ การส่งอีเมลโดยแอบอ้างเป็น
ธนาคารพาณิชย์ เพื่อหลอกให้ท าธุรกรรม หรือกรอกข้อมูล
ส าคัญ เช่น รหัสผ่าน หมายเลขบัตรเครดิต นอกจากนี้
มิจฉาชีพอาจฝังมัลแวร์ (โปรแกรมมุ่งร้าย) ไว้ในเอกสารแนบ
ของอีเมล ซึ่งหากเปิดไฟล์ดังกล่าว จะท าให้เครื่องคอมพิวเตอร์
ื่
ของผู้รับเกิดความเสียหายได้ เช่น ไฟล์ต่าง ๆ ถูกยึดเพอเรียก
ค่าไถ่ หรือระบบคอมพิเตอร์ถูกท าลายจนไม่สามารถใช้งานได้
วิธีรับมือและป้องกัน : หากได้รับอีเมลต้องสงสัย ให้ “คิด”
ก่อน “คลิก” ควรตรวจสอบผู้ส่ง เนื้อหาและลิงก์ภายในอีเมล
โดยระเอียดก่อนตอบกลับหรือให้ข้อมูลใด ๆ ทุกครั้ง
ในยุคแห่ง SocialMedia นั้นเราคงปฏิเสธไม่ได้ว่า
เราใช้ชีวิตและท ากิจกรรมต่าง ๆ บนโลกออนไลน์มากขึ้น
เมื่อเทียบกับสมัยก่อน ซึ่งมิจฉาชีพเองก็เริ่มใช้ช่องทางดังกล่าว
เพื่อแสวงหาผลประโยชน์เช่นเดียวกัน
สวัสดิการสาร พฤศจิกายน 2565 15