Page 17 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 17
ความเชื่อและขั้นตอนในการจัดพิธีงานศพไทย
กองการฌาปนกิจ
www.chapanakit-rta.com
พิธีงานศพไทยถือเป็นประเพณี หรือพิธีกรรมอย่าง ให้สะอาด ทาด้วยขมิ้น และ น ้าหอม อุดรูทวารทั้ง 7 ด้วย
หนึ่งที่ผู้ใกล้ชิดอย่างคนในครอบครัว หรือญาติสนิทมิตรสหาย ส าลีเพื่อป้องกันน ้าเหลือง แต่งตัวชุดสีขาวให้ดูสะอาดน า
จะกระท าให้กับผู้ล่วงลับเป็นครั้งสุดท้าย เพื่อเป็นการให้เกียรติ เครื่องประดับของที่ผู้ล่วงลับชอบติดตัวเขาไปด้วย นิยมท า
ู่
และระลึกถึงคุณงามความดีของผู้วายชนม์เมื่อครั้งยังมีชีวิตอย กันภายในครอบครัว และควรจัดเตรียมผ้าแพรส าหรับคลุมศพ
ซึ่งจะมาอธิบายถึงวิธีการและขั้นตอนในการจัดพิธีศพกันว่ามี และรูปภาพที่จะตั้งหน้าศพ แต่ถ้าผู้เสียชีวิตน้นเป็นผู้ที่อยู่ใน
ั
ความเชื่อ วิธีการ และขั้นตอนการปฏิบัติอย่างไรกันบ้าง เกณฑ์สมควรได้รับพระราชทานน ้าหลวงอาบศพ ให้แจ้งไปยัง
1. การแจ้งตาย ต้นสังกัดของผู้นั้นแล้วเดินเรื่องไปยังกองพระราชพิธี ส านัก
ิ
เมื่อมีผู้เสียชีวิต ล าดับแรกก่อนที่จะจัดพธีงานศพไทย พระราชวัง เพื่อขอพระราชทานน ้าหลวงอาบศพและเครื่อง
ก็คือ “การแจ้งตาย” นั่นเอง โดยญาติหรือผู้พบศพจะต้อง ประกอบเกียรติศพต่อไป
แจ้งตายที่ส านักทะเบียนท้องถิ่นภายในระยะเวลา 24 ชั่วโมง
นับตั้งแต่เวลาเสียชีวิตหรือพบศพ เพื่อขอรับใบมรณะบัตร
และต้องน าไปแจ้งต่อส านักทะเบียนท้องถิ่นที่ผู้เสียชีวิตมี
ภูมิล าเนาอยู่ พร้อมน าทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านไปด้วย เพื่อให้
เจ้าหน้าที่จ าหน่ายได้ว่าเสียชีวิตเมื่อใด โดยต้องแจ้งให้
เจ้าหน้าที่ทราบภายในเวลา 15 วัน 3. การอาบน ้าศพ และการรดน ้าศพ
ถ้าเสียชีวิตที่โรงพยาบาล จะไม่ยุ่งยากมากเพราะ “การอาบน ้าศพ” หรือที่เรียกว่า พิธีรดน ้าศพ ถือ
แพทย์โรงพยาบาลจะติดต่อทุกอย่างให้ โดยแพทย์จะออก เป็นขั้นตอนแรกของพิธีงานศพไทยก่อนที่จะน าศพใส่โลงโดย
ี
ี
ื่
ใบรับรองการเสยชวิตให้ เพอใชในการขอใบมรณะบัต ร ครอบครัวหรือญาติจะท าการอาบน ้าหรือช าระร่างกายศพให้
้
ี
ถาเสยชวิตที่บ้าน เจ้าของบ้าน หรือตัวแทนจะตองไปแจ้ง สะอาด เพราะเชื่อกันว่าผู้เสียชีวิตจะได้จากไปสู่โลกอื่นอย่าง
้
้
ี
ที่สถานีต ารวจ หรือโรงพยาบาลท้องถิ่นเพื่อรับใบมรณะบัตร บริสุทธิ์ หลังจากอาบน ้าและแต่งตัวศพเรียบร้อยแล้วจึงนาศพ
้
2. น าผู้ล่วงลับไปที่วัด และอาบน ้าแต่งตัว ขึ้นนอนบนเตียงส าหรับพิธีรดน ้าศพต่อไป และเมื่อเขาสู่พิธีรด
ล าดับถัดมาก่อนที่จะเริ่มเข้าสู่พิธีงานศพไทยกคือ น ้าศพ เจ้าภาพและลูกหลานจะท าการรดน ้าศพก่อนแล้วจึงเป็น
็
“การน าศพไปวัด” เมื่อแจ้งตายกับส านักทะเบียนท้องถนแล้ว แขกผู้มาร่วมงาน คนสนิท และบุคคลที่นับถือเพื่อแสดงความ
ิ่
ให้ติดต่อวัดที่จะน าศพไปตั้งบ าเพ็ญกุศล และขอให้ทางวัด เคารพและความอาลัยต่อผู้ล่วงลับ
จัดรถไปรับศพ แต่ถ้าผู้เสียชีวิตนั้นเสียชีวิตที่โรงพยาบาลก ็ ส่วนมากเรานิยมตั้งเตียงไว้ด้านซ้ายของ โต๊ะหมู่
สามารถแจ้งความประสงค์กับเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเพื่อ บูชาพระรัตนตรัย โดยโต๊ะบูชาจะอยู่ด้านบนของศีรษะผู้ล่วงลับ
ขอให้จัดรถส่งศพให้ จากนั้นให้นิมนต์พระสงฆ์ 1 รูปมาชักศพ จัดวางผู้ล่วงลับนอนเหยียดยาว และ น าแขนขวาของผู้ล่วงลับ
ที่จะเคลื่อนไปสู่วัดที่น าศพไปตั้งบ าเพ็ญกุศล ทั้งนก่อนที่จะน า ยื่นออกมาโดยจะน าผ้าขาวปิดล าตัวผู้ล่วงลับไว้ให้เหลือแต่หน้า
ี้
ศพไปวัด จะอาบน ้าศพโดยใช้สบู่ แชมพู อาบน ้าศพ และมือขวาเท่านั้น หากผู้ล่วงลับเสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุร่าง
เสียหายมากเราสามารถโยงสายสิญจน์จากผู้ล่วงลับมาที่พาน
รดน ้าศพเพื่อท าการรดน้าศพได้ น ้าที่รดน ้าศพสามารถใส ่
ดอกไม้ เครื่องหอมต่าง ๆ ได้
สวัสดิการสาร กรกฎาคม 2566 17