Page 13 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 13
การรักษาโดยการขยายหลอดเลือดหัวใจ 6. หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง
1. การขยายด้วยบอลลูน และ/หรือการขยายด้วย อาหารที่มีรสเค็มและหวาน
ขดลวด มีทั้งขดลวดแบบเคลือบยา ไม่เคลือบยา และ 7. งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ น ้าชา กาแฟ และ
ขดลวดแบบละลายได้ พิจารณาตามความเหมาะสมของ หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่
แต่ละบุคคล อาการผิดปกติที่ควรพบแพทย์
1. อาการเจ็บหน้าอก (Angina pectoris)
- มีอาการเจ็บลึก ๆ แน่น ๆ บริเวณกลางหน้าอกหรือใต้อก
ลักษณะเหมือนถูกรัด ถูกกด หรือถูกบีบ อาจร้าวไปที่
บริเวณไหล่ แขน โดยเฉพาะไหล่และแขนซ้ายด้านใน หรือ
ร้าวไปบริเวณคอ ขากรรไกร หรือลิ้นปี่
- อาการเจ็บจะเป็นนานประมาณ 5-10 นาที
- มีการใช้ยาอมใต้ลิ้นหรือพ่นยาใต้ลิ้นแล้วอาการไม่ดีขึ้น
2. ใจสั่น เหงื่อออก คลื่นไส้ อาเจียน หน้ามือ เป็นลม หมดสติ
2. การรักษาด้วยการผ่าตัดท าทางเบี่ยงหลอดเลอด
ื
หัวใจ เป็นการผ่าตัดท าทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ เพื่อให้ 3. อาการเหนื่อยร่วมกับหายใจไม่อิ่ม
เลือดไหลเวียนข้ามบริเวณที่มีการตีบตันไปเลี้ยงกล้ามเนื้อ
หัวใจได้ ท าในกรณีใส่ขดลวดไม่ได้ หรือตรวจพบ
ภาวะแทรกซ้อนอย่างอื่นร่วมด้วย
3. การรักษาด้วยยา
การปฏิบัติตัวส าหรับผู้มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
เฉียบพลัน
1. ออกก าลังกายอย่างสม ่าเสมออย่างนอยสัปดาห์ละ
้
3 ครั้ง ๆ ละ 30 นาที การออกก าลังกายที่ดีที่สด คือ การเดิน
ุ
โดยเริ่มเดินช้า ๆ ก่อนแล้วค่อย ๆ เพิ่มระยะทาง แต่อย่าให้
เกินก าลังตนเอง
ั้
2. เมื่อมีอาการเจ็บหน้าอก ให้หยุดกิจกรรมนน ๆ
ทันทีและอมยาใต้ลิ้น 1 เม็ด หากอาการยังไม่ทุเลาลงให้
อมยาใต้ลิ้นซ ้าได้อีก 1 เม็ด ห่างกัน 5 นาที แต่ไม่ควรเกิน
ึ้
3 เม็ด หากอาการไม่ดีขนใน 15-20 นาที ให้รีบไ ป
์
พบแพทยทันที
3. ท าจิตใจให้สงบ หาเวลาพักผ่อนและลด ที่มา : https://www.siphhospital.com/th
ความเครียด หลีกเลี่ยงสิ่งที่ท าให้ตื่นเต้น เช่น การดู
เกมกีฬา การแข่งขันที่เร้าใจ ผู้น าเสนอ : พันเอกหญิง พรรวินท์ สิงหเดช
4. สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้ หากมีอาการใจสั่น
้
หายใจขด หรือเจ็บหนาอกนานเกน 15 นาที หลังมี
ิ
ั
ั
เพศสมพันธ์ควรปรึกษาแพทย ์
5. หลีกเลี่ยงการเบ่งถ่ายอุจจาระแรง ๆ
สวัสดิการสาร กรกฎาคม 2566 13