Page 18 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 18
4. การจัดงานบ าเพ็ญกุศลและการสวดอภิธรรม 7. การท าบุญครบรอบวันตายของผู้ล่วงลับ
็
ขั้นตอนล าดับถัดมาของการจัดพิธีงานศพไทยกคือ ในการจัดพิธีงานศพไทย “พิธีท าบุญครอบรอบวันตาย”
“การจัดงานบ าเพ็ญกุศล” หรือ พิธีสวดอภิธรรม ซึ่งพิธีสวด ถือเป็นขั้นตอนที่ส าคัญไม่แพ้กัน เพราะเป็นการท าบุญครั้งใหญ่
อภิธรรมนี้จะเริ่มสวดตั้งแต่วันตั้งศพเป็นต้นไปประจ าทุกคืน ที่ญาติของผู้ล่วงลับพึงจะกระท า เพื่อให้วิญญาณของผู้ล่วงลับ
ส่วนมากจะนิยมสวด 1 วัน, 3 วัน, 5 วัน หรือ 7 วัน แต่ใน ได้รับผลบุญและไปสู่สุคติภูมิ ส่วนมากมักจะนิยมท าบุญครบรอบ
บางรายอาจสวดพระอภิธรรมศพจนครบ 100 วัน หรือจนถึง 7 วัน, 50 วัน และ 100 วัน
วันฌาปนกิจศพ โดยเจ้าภาพจะนิมนต์พระสงฆ์ 4 รูปมาสวด 8. การเก็บอัฐิ
พระอภิธรรมศพจ านวน 4 จบ และเมื่อสวดพระอภิธรรมศพ หลังจากเสร็จสิ้นพิธีฌาปนกิจของพิธีงานศพไทย
ิ
เจ้าภาพจึงถวายเครื่องไทยธรรมแด่พระสงฆ์ ทั้งนี้พิธีสวด แล้วก็มาถึงขั้นตอน “การเก็บอัฐ” ซึ่งเจ้าภาพอาจจะท าพิธีเก็บ
อภิธรรมมีจุดประสงค์เพื่อให้ได้ท าบุญอุทิศส่วนกุศลแก่ผู้ตาย อัฐิหลังจากเผาศพ เพื่อรวบรัดขั้นตอนให้เสร็จภายในวันนั้น
เป็นส าคัญและเป็นการให้เจ้าภาพ ญาติมิตร และแขกผู้มา เลย หรือจะท าในเช้าวันรุ่งขึ้นก็ได้ โดยพิธีนี้จะเริ่มจากนิมนต์
ิ
ร่วมงานแสดงออกถึงความเคารพนับถือและความกตัญญูต่อ พระสงฆ์มาพิจารณา “บังสุกุลอัฐ” หรือที่เรียกกันว่า “แปรรูป /
ผู้ล่วงลับอีกด้วย แปรธาตุ” ที่มีลักษณะเป็นการน าอัฐิของผู้ล่วงลับที่เผาแล้วมา
5. การบรรจุเก็บศพ วางเป็นรูปร่างคน เมื่อท าพิธีเก็บอัฐิเสร็จเรียบร้อยแล้ว เจ้าภาพ
ในการจัดพิธีงานศพ ก่อนเข้าสู่ขั้นตอน จึงจะเก็บอัฐิใส่โกศด้วยการเลือกเก็บอัฐิจากร่างกายทั้ง 6 แห่ง
ึ่
ิ
“การฌาปนกจศ พ ” ก็จะเป็น “การบรรจุเก็บศพ” ซงการ ได้แก่ กะโหลกศีรษะ 1 ชิ้น, แขนทั้งสอง, ขาทั้งสอง และ
ั
ิ
ี้
็
้
บรรจุเกบศพนจะกระท าหลงจากการสวดพระอภธรรมใน ซี่โครงหน้าอก 1 ชิ้น ส่วนอัฐิที่เหลือรวมไปถึงขี้เถานั้นจะน าไป
้
ิ้
็
คืนสดท้ายเสรจสนลงแลว โดยจะน าศพไปเกบทีสสานหรือ ลอยอังคาร
ุ
่
็
ุ
ศาลา เพื่อรอให้ญาติหรือโอกาสที่เหมาะสมก่อนจะท า 9. การลอยอังคาร
การฌาปนกจ หรือฝงศพในสสานต่อไป ในการจัดพิธีงานศพไทยนั้น พิธีลอยอังคารถือเป็น
ุ
ั
ิ
6. การฌาปนกิจศพ ขั้นตอนที่เราจะท าให้กับผู้ล่วงลับเป็นครั้งสุดท้าย ซึ่งพิธีการ
พิธีฌาปนกิจ ถือเป็นขั้นตอนที่ส าคัญที่สุดในพิธี ลอยอังคารนี้จะเป็นการน าเถ้าถ่านที่เหลือจากการเผาศพไป
งานศพไทย เนื่องจากเป็นพิธีกล่าวอ าลาและแสดงความอาลัย ลอยในน ้า ส่วนมากจะนิยมน าไปลอยในแม่น ้าหรือทะเล
แก่ผู้ล่วงลับในครั้งสุดท้าย นอกจากนั้นยังเป็นวันสุดท้ายของ สาเหตุที่คนส่วนใหญ่นิยมลอยอังคารฌาปนกิจศพแล้ว เพราะ
ศพที่จะเข้าสู่เชิงตะกอนอีกด้วย ซึ่งพิธีฌาปนกิจนเป็นพิธีกรรม เชื่อกันว่าจะเป็นการส่งดวงวิญญาณของผู้ล่วงลับไปสสุคติหรือ
ู่
ี้
่
ั
ที่ท าให้ผู้ยังมีชีวิตอยู่ได้มีโอกาสระลึกถึงผู้ลวงลับและตระหนก ภพภูมิที่ดี มีแต่ความร่มเย็นเป็นสุข เปรียบเสมือนสายน ้าที่มี
ถึงสัจธรรมของชีวิตเกี่ยวกับความไม่เที่ยงแท้ของสรรพสิ่งที่ว่า ความชุ่มเย็น
“สิ่งใดในโลก ล้วนอนิจจัง” ฉะนั้นให้รีบหมั่น ท าความดีและ
สร้างบุญกุศลมากขึ้นยิ่ง ๆ ขึ้นไป โดยจะมีการเวียนศพไปทาง
ด้านซ้าย หรือทวนเข็มนาฬิกาทั้งหมด 3 รอบ เพื่อเป็นการไว้
อาลัยแก่ผู้ล่วงลับและเป็นปริศนาธรรมเกี่ยวกับกฎไตรลักษณ์
อันได้แก่ “อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา” หรือ “การเวียนว่าย
ตายเกิด”นั่นเอง จากนั้นจึงจะเชิญศพขึ้นสู่เมรุ เจ้าภาพอ่านค า
และยืนไว้อาลัย แล้วต่อด้วยเชิญแขกผู้ใหญ่ทอดผ้าบังสุกุล
และตามด้วยประธานในพิธีทอดผ้าบังสุกุลหน้าหีบศพ และ
สุดท้ายจึงจะเชิญแขกผู้ร่วมงานขึ้นประชุมเพลิงค่ะ ซงเป็นอีก ที่มา : https://www.wreathmala.com/พิธีงานศพไทย/
ึ่
หนึ่งขั้นตอนที่ต้องมีในพิธีงานศพไทย
ผู้น าเสนอ : ร้อยโท ภัทรพงศ์ ทัพวนานต์
สวัสดิการสาร กรกฎาคม 2566 18