Page 22 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 22

2. การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารพิษทางการหายใจ           3. การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารพิษทางผิวหนัง

      สารพิษที่เข้าสู่ทางการหายใจ ได้แก่ ก๊าซพิษ แบ่งออกเป็น   สารพิษที่สามารถเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนังที่พบบ่อยได้แก  ่
  3 ประเภท ดังน ี้                                       สารเคมี และสารพิษที่เกิดจากการถูกสตว์มีพิษกัดหรือต่อย
                                                                                         ั
      - ก๊าซที่ท าให้ร่างกายขาดออกซิเจน เกิดอาการวิงเวียน   เช่น ต่อ แตน ผึ้ง ตะขาบ แมงป่อง

  หน้ามืด เป็นลม หมดสติ อาจถึงแก่ความตายได้ เช่น คาร์บอน การปฐมพยาบาลเมื่อสารเคมีถูกผิวหนัง
  มอนนอกไซค์ คาร์บอนไดออกไซค์ ไฮโดรเจน ไนโตรเจน             - ล้างด้วยน ้าสะอาดนาน 15 นาที โดยเปิดน ้าให้ไหลผาน
                                                                                                         ่
  ปัจจุบันพบว่าก๊าซที่ท าให้เกิดปัญหาค่อนข้างบ่อยได้แก  ่
  คาร์บอนมอนนอกไซค์ โดยเฉพาะในเมืองใหญ่ ๆ ที่มีปัญหา        - ห้ามใช้ยาแก้พิษทางเคมีทา เพราะความร้อนที่เกิดจาก
  การจราจรคับคั่ง อากาศเป็นพิษ ซึ่งคาร์บอนมอนนอกไซค์     ปฏิกิริยาอาจท าให้เกิดอันตรายมากขึ้น และน าส่งโรงพยาบาล

  เป็นก๊าซไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส เกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่  การปฐมพยาบาลเมื่อสารเคมีเข้าตา
  สมบูรณ์ของน ้ามันเชื้อเพลิง เมื่อหายใจเข้าไปในร่างกาย ก๊าซน ี้  - ล้างด้วยน ้าสะอาดนาน 15 นาที โดยเปิดน ้าให้ไหลผาน
                                                                                                         ่
  จะแย่งที่กับออกซิเจนในการจับกับฮีโมลโกลบินในเม็ดเลอดแดง   - ห้ามใช้ยาแก้พิษทางเคมีทา เพราะความร้อนที่เกิดจาก
                                                ื
  ท าให้เม็ดเลือดแดงไม่สามารถไปยังเนื้อเยื่อทั่วร่างกายได้   ปฏิกิริยาอาจท าให้เกิดอันตรายมากขึ้น ปิดตาและน าส่ง
  ร่างกายจึงมีอาการของการขาดออกซิเจน ซึ่งถ้าช่วยเหลือไม่

  ทันจะท าให้ผู้ป่วยเสียชีวิต เช่น ในกรณีที่มีผู้เสยชีวิตในรถยนต์  โรงพยาบาล
                                         ี
      - ก๊าซที่ท าให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ
  ได้แก่ คอ หลอดลม และปอด ถ้าได้รับในปริมาณมากอาจท า

  ให้ถึงแก่ชีวิตได้ เช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซค์ เป็นก๊าซที่ไม่มีสี แต่มี
  กลิ่นฉุน พบได้ในโรงงานอุตสาหกรรม ใช้ท ากรดก ามะถัน

      - ก๊าซที่ท าให้อันตรายทั่วร่างกาย ได้แก่ ก๊าซอาร์ซีน ไม่มีส  ี

  มีกลิ่นคล้ายกระเทียม พบได้ในโรงงานอุตสาหกรรมใช้ท า
  แบตเตอรี่ เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะท าให้เม็ดเลือดแดงแตก

  ปัสสาวะเป็นเลือด ดีซ่าน ตาเหลือง ตัวเหลือง

      การปฐมพยาบาล

      - รีบเปิดประตูหน้าต่างเพื่อให้อากาศถ่ายเท มีอากาศ
  บริสุทธิ์เข้ามาในห้อง ปิดท่อก๊าซ หรือขจัดต้นเหตุของพิษนั้น ๆ
                                                          ที่มา : https://cheewajit.com/body/248232.html
      - น าผู้ป่วยออกจากบริเวณที่เกิดเหตุไปยังที่มีอากาศ
  บริสุทธิ์                                                         ผู้น าเสนอ : พันโทหญิง ไอเดีย  อดุลยานุภาพ

      - ประเมินการหายใจและการเต้นของหัวใจ ถ้าไม่มีให้ผาย

  ปอดและนวดหัวใจ

      - น าส่งโรงพยาบาล





                                สวัสดิการสาร                   กรกฎาคม  2566                             22
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27