Page 12 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 12

ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด          อาการแสดงของกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด

     เฉียบพลัน                                          เฉียบพลัน
                                                                                                     ้
            ปัจจัยเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้                    1. เจ็บแน่นหน้าอก มีอาการเจ็บแน่นอยู่ใต้หนาอก
            1. เพศ เพศชายมีความเสี่ยงมากกว่าเพศหญิง     อาจร้าวไปที่แขน ไหล่ คอ หรือกราม อาการเจ็บประมาณ
            2. อายุ เพศชายที่มีอายุมากกว่า 45 ปี และเพศหญิง 5-10 นาที อาจถูกกระตุ้นโดยการออกแรง หรือภาวะเครียด
     ที่มีอายุมากกกว่า 55 ปี มีโอกาสเสี่ยงเกิดภาวะกล้ามเนื้อ  อาการจะดีขึ้นเมื่อได้พักหรือใช้ยาอมใต้ลิ้น หรือพ่นยาใต้ลิ้น

     หัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน                             แต่ในภาวะกล้ามเนื้อโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันจะมี
            3. พันธุกรรม ผู้ที่มีประวัติครอบครัว (first degree  อาการเจ็บแน่นหน้าอกอย่างต่อเนื่อง แม้จะอมยาใต้ลิ้นแล้ว
     relative) หมายถึง พ่อแม่ พี่น้อง ลูก เป็นโรคเส้นเลือดหัวใจ หรือมีการเจ็บแน่นหน้าอกแม้ในขณะนั่งพักก็ได้

     ตีบตันก่อนวัยอันควร (เพศชายอายน้อยกว่า 55 ปี เพศหญิง      2. ใจสั่น เหงื่อออกมาก เหนื่อยง่าย
                                ุ
     อายุน้อยกว่า 65 ปี)                                แนวทางการรักษาภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด

            ปัจจัยเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้                เฉียบพลัน
            1. ความดันโลหิตสูง ความเสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อน        แบ่งตามความรุนแรงของโรคได้ 2 กลุ่ม คือ

     อื่นๆ เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคตาหรือโรคไต       1. กลุ่มภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
            2. ระดับไขมันในเลือดสูง ไขมันจะจับที่ผนังด้าน  ชนิดพบการยกตัวอย่างผิดปกติของช่วง ST segment (STEMI)
     ในหลอดเลือดหัวใจเกิดการรวมตัวเป็นแผ่นหนามากขึ้น ท าให้  ในคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

     หลอดเลือดตีบแคบลง ส่งผลให้ความดันโลหิตสูงขึ้น             เป้าหมายส าคัญ คือ ควรเปิดหลอดเลือดเพื่อให้
            3. การสูบบุหรี่ สารนิโคตินในบุหรี่จะท าให้หลอด  กล้ามเนื้อหัวใจตายภายใน 12 ชั่วโมง หลังจากมีอาการเจ็บ

     เลือดแดงแข็งตัว ความยืดหยุ่นของหลอดเลือดลดลงเกิด   เค้นอก ภายใน 12-24 ชั่วโมง พิจารณาการรักษาอย่าง
     ความดันโลหิตสูง                                    เร่งด่วน โดยท าการขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูนและ/
            4. โรคเบาหวาน ปัจจัยเสริมที่ท าให้เกิดหลอด  หรือใส่ขดลวด

     เลือดแดงตีบแข็งได้                                        2. กลุ่มภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
            5. อ้วนลงพุง เนื่องจากคนที่อ้วนลงพุงส่วนใหญ่  ชนิดไม่พบการยกตัวอย่างผิดปกติของช่วง ST segment

     พบว่ามีระดับไขมันในหลอดเลือดสูง โดยพิจารณาได้จาก   (Non-STEMI) ในคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
                                                                 ิ
                                                                                         ิ
                                                                                                  ื
                                                                            ั
     ขนาดของเส้นรอบเอว ผู้ชายไม่ควรเกิน 90 เซนติเมตร           พจารณาการรกษาโดยการเปดหลอดเลอดหัวใจ
     และผู้หญิงไม่เกิน 80 เซนติเมตร                     ที่อุดตันด้วยการฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ และใส่ขดลวดค ้ายัน
            6. ขาดการออกก าลังกาย จะท าให้การไหลเวียน   โดยเร็วในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงดังต่อไปน ี้
     เลือดไม่สะดวก การเผาผลาญพลังงานน้อย และเกิดการ            - เจ็บเค้นอกและอาการไม่ดีขึ้น หลังให้การรักษา

     สะสมของไขมันได้                                    เบื้องต้นด้วยยาต้านเกล็ดเลือดและยาบรรเทาอาการเจ็บ
            7. ความเครียด ท าให้ร่างกายเกิด การเผาผลาญ  เค้นอก
     ไขมันในหลอดเลือดผิดปกติ ท าให้ระดับไขมันในหลอด            - ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเสียชีวิต ได้แก  ่

     เลือดสูงได้                                        อาการเจ็บหน้าอกไม่คงที่ เป็น ๆ หาย ๆ ภาวะไหลเวียน
                                                        โลหิตไม่คงที่ มีอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจ

                                                        ล้มเหลว








                                 สวัสดิการสาร                  กรกฎาคม  2566                             12
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17