Page 10 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 10
ภาวะหลับใน ระวังไว้ไม่เสี่ยงชีวิต
กองธุรการ
www.awd-rta.com
สัญญาณเตือนง่วงมากผิดปกติ
- ตื่นตอนเช้าไม่สดชื่นอยากนอนต่อ
- ง่วงเหงาหาวนอนบ่อย ๆ ต่อเนื่องระหว่างวัน
- มึนศีรษะ มองภาพไม่ชัด ตาปรือ รู้สึกลืมตาไม่ขึ้น มองข้าม
สัญญาณไฟจราจร
- ขาดสมาธิในการท ากิจกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะการขับขี่
ที่ไม่สามารถควบคุมเส้นทางได้
- เมื่ออยู่นิ่ง ๆ เผลอหลับแบบไม่รู้ตัว
- อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า กระวนกระวาย
มีหลายสาเหตุที่ท าให้เกิดภาวะหลับใน ได้แก่ เทคนิคขับรถไม่กลัวหลับใน
1. อดนอน - พักคนและรถทุก ๆ 2 ชั่วโมง
การนอนน้อยหรือนอนไม่พอต ่ากว่า 7 ชั่วโมง - งีบพักประมาณ 5-45 นาที ช่วยลดโอกาสเกิดหลับใน
ต่อวัน เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดภาวะหลับใน เพราะสมอง แต่ต้องเลือกสถานที่ที่ปลอดภัย
่
ส่วนธาลามัสอาจหยุดท างานสั้น ๆ ชั่วคราว สงผลให้เกิด - หากไปหลายคนสลับกันขับเพื่อไม่ให้เหนื่อยล้าจนเกินไป
ความง่วงกะทันหัน งีบหลับไม่รู้ตัวไม่ตอบสนองต่อการรับรู้ - เลือกใช้หลอดไฟสีส้ม ในห้องนอน เพราะไม่รบกวนดวงตา
จนเกิดภาวะหลับในได้ นอกจากนี้ยังท าให้น ้าหนักเพิ่ม ช่วยให้ผ่อนคลาย หลับได้ง่ายขึ้น
เกิดภาวะซึมเศร้า หลอดเลือดสมองตีบ เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ - อุณหภูมิห้องนอน ควรอยู่ระหว่าง 25-26 องศาเซลเซียส
ช้าลง หากอดนอนเรื้อรังในระยะยาว ไม่ร้อนหรือเย็นจนเกินไป ช่วยให้ไม่ตื่นกลางดึกหลับสนิท
2. นอนไม่เป็นเวลา ต่อเนื่อง ภาวะหลับในไม่ใช่เรื่องล้อเล่น เพราะอาจร้ายแรง
นอนดึกตื่นสาย ส่งผลเสียต่อร่างกาย คือ ถึงขั้นเสียชีวิตได้ การพักผ่อนให้เพียงพอ นอนให้เป็นเวลา
ฮอร์โมนเกิดการเปลี่ยนแปลง รู้สึกอ่อนเพลียนอนไม่เต็มอิ่ม และเข้านอนในเวลาที่ดีและสม ่าเสมอในทุก ๆ วัน ย่อมช่วย
เช่น เข้านอนตี 4 ตื่นนอนเที่ยงวัน คุณภาพการนอนไม่ดี ป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากภาวะหลับในได้ แต่ถ้าหาก
เท่ากับเข้านอน 4 ทุ่ม ตื่นนอน 6 โมงเช้า นอนเพียงพอแล้วยังรู้สึกง่วง ไม่สดชื่น ควรเข้ารับการตรวจ
3. เวลาเข้านอนเปลี่ยนไปเปลี่ยนมา Sleep Test เพื่อวินิจฉัยการนอนโดยละเอียดกับทีมแพทย ์
ส่งผลให้สมองและเกิดความเสื่อม เพราะปกติ ผู้เชี่ยวชาญ จะได้ดูแลการนอนให้มีคุณภาพ ช่วยให้สุขภาพ
สมองจะจ าเวลานอนและเกิดความง่วงในเวลานั้นถ้า แข็งแรงและเป็นการพักผ่อนชาร์จพลังให้ร่างกายอย่างแท้จริง
เปลี่ยนเวลาเข้านอนบ่อย ๆ จะท าให้เวลานอนไม่ง่วง
นอนน้อยลง หลับไม่เต็มอิ่ม
4. กรรมพันธุ์
ส่งผลให้บางคนอยู่ในกลุ่มนอนยาวที่มีความ
ต้องการนอนนานถึง 10 ชั่วโมงจึงจะสดชื่น หรือบางคน
อยู่ในกลุ่มนอนระยะสั้น เพียง 4-5 ชั่วโมงก็ตื่นมา ที่มา : https://www.bangkokhospitalkhonkaen.com
ได้อย่างสดชื่น แต่พบได้ในจ านวนน้อยมาก /th/article/1556360394
สวัสดิการสาร กรกฎาคม 2566 10