Page 19 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 19
ปริญญานิพนธ์หัวข้อ การใช้เทคนิคทางจิตวิทยา
การกีฬาของนักกีฬาเซปักตะกร้อของ ภาณุวัฒน์ วชิรธานนทร์
ิ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒส่วนหนึ่งของการศึกษาตาม
หลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์
การกีฬา ปี 2553 ซึ่งศึกษาเทคนิคทางจิตวิทยาที่นกกีฬา
ั
เซปักตะกร้อใช้ระหว่างฝึกซ้อมและแข่งขัน กลุ่มตัวอย่างคือ
นักเซปักตะกร้อทีมชาติไทย เพศชาย อายุระหว่าง 24-35 ปี
ซึ่งเข้าแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ปี 2552 พบว่าเทคนิคทาง
สมรรถภาพทางจิตใจ หรือทักษะทางจิตใจ จิตวิทยาทีนกกฬาเซปักตะกร้อใชมากทีสุด คือ การพูด
ั
ี
่
่
้
ั
(mental skills หรือ Psychological skills)เป็นลักษณะของ กบตนเอง การท าสมาธิ และการหายใจ
จิตใจที่จะน าพานักกีฬาไปสู่ความส าเร็จ องค์ประกอบ การพัฒนาสมรรถภาพทางกาย ทักษะทางกีฬา
ของทักษะจิตใจที่ดี เช่น การมีเจตคติทางบวก การมี สมรรถภาพทางจิตใจ หมั่นฝึกฝนและวางแผนเพื่อแก้ไข
แรงจูงใจภายใน การมีความเชื่อมั่นหรือมั่นใจใน ปัญหาคือหลักสาคัญที่ท าให้นักกีฬาชั้นน าก้าวขึ้นไป
ประสบความส าเร็จ
ตัวเอง ความสามารถในการควบคุมความวิตกกังวล ส าหรับการฝึกทักษะทางจิตใจแล้วหากท าเป็น
การควบคุมการถูกกระตุ้นจากสิ่งเร้า การตระหนักรู้ ประจ ายังช่วยท าให้นักกีฬามีความสุขกับการแข่งขัน
ตนเอง รวมถึงการฝึกซ้อมที่บ่อยครั้งกินเวลายาวนานจน
วิธีการฝึกสมรรถภาพทางจิตใจ หรือทักษะ กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตอีกด้วย
ทางจิตใจ มีหลายวิธี เช่น การวางเป้าหมายการ
จินตภาพ การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ การพูดและคิด
ทางบวก การควบคุมการหายใจ เมื่อนักกีฬาได้
เรียนรู้วิธีการต่างๆ และน าไปปฏิบัติจนช านาญ
ทั้งช่วงฝึกซ้อม ระหว่างแข่งขัน และหลังจบการ
แข่งขัน จะท าให้มีทักษะทางจิตใจที่ดีขึ้น ทั้งนี้จะ
เลือกใช้วิธีใดก็ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ สภาพปัญหา SCAN ME
สภาพแวดล้อม ของนักกีฬาแต่ละคน
ที่มา :
https://stadiumth.com/columns/detail?id=655&tab
=changsuek
ผู้น าเสนอ : ร้อยเอก พลากร ไกรพานนท์
สวัสดิการสาร มีนาคม 2566 19