Page 20 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 20
ซึ่งช่วยลดการระบาดของแมลง และยังเป็นผลดีต่อการตลาด
เพราะมีผักหลายชนิดจ าหน่าย ส่วนการรับรองมาตรฐานจะใช้ ผักปลอดสารพิษดีกว่าผักทั่วไปอย่างไร
หลักเกณฑ์เดียวกับผักปลอดสารพิษ อย่างที่บอกไปในตอนต้นว่าผักปลอดสารพิษมีหลายแบบ
ึ่
ตั้งแต่มีสารเคมีในระดับต ่าไปจนถึงไม่มีสารเคมีเลย ซงแน่นอน
3. ผักเกษตรอินทรีย์ (ORGANIC FARMING) ว่าย่อมดีกว่าผักทั่วไปในเรื่องของความปลอดภัยนั่นเอง โอกาส
เรารู้จักผักชนิดนี้ในชื่อเรียกว่า “ผักออร์แกนิค” เป็นผักที่ปลูก ที่จะเสี่ยงต่อการปนเปื้อนของสารเคมีในปริมาณสงเป็นไปได้
ู
ด้วยวิธีธรรมชาติ ไม่ใช้เมล็ดพันธุ์ที่ผ่านการตัดต่อพันธุกรรม น้อย อีกทั้งยังช่วยปกป้องดูแลร่างกายของเราให้ห่างไกล
(จีเอ็มโอ:GMO) ไม่ใช้สารเคมีใด ๆ ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยเคมี จากการสะสมสารเคมีตกค้างที่อยู่ในผักเป็นระยะเวลายาวนาน
ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง หรือฮอร์โมนต่าง ๆ การผลิตผัก ซึ่งอาจจะส่งผลเสียต่อร่างกายในระยะยาวได้
่
ประเภทนี้จะใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ สวนการก าจัด
ศัตรูพืชจะใช้สารเคมีที่ผลิตจากธรรมชาติ เช่น สะเดา โล่ติ๊น วิธีล้างท าความสะอาดผัก
จึงปลอดภัยต่อสุขภาพและไม่ท าลายสภาพแวดล้อม 1. การล้างผักด้วยน ้าเปล่า เปิดให้น ้าไหลผ่านผักที่ต้องการล้าง
เด็ดผักเป็นใบ ๆ ใส่ตะแกรงดปร่งแล้วเปิดให้น ้าไหลผ่าน ใช้มือ
ช่วยคลี่ใบผักถูไปมาบนผิวของใบผัก
2. การใช้ด่างทับทิม (Potassium Permvnganate) มีลักษณะ
เป็นเกล็ดแข็ง สีม่วง สามารถละลายในน ้าได้ ท าให้เกิดสีชมพู
หรือม่วงเข้ม เป็นสารประกอบประเภทเกลือ โดยใช้ปริมาณ
20-30 เกล็ด ผสมน ้า 4 ลิตร แช่ผักไว้ประมาณ 10 นาที
แล้วล้างด้วยน ้าสะอาด ซึ่งมีข้อจ ากัดที่ไม่ควรแช่นานเกินไป
อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อระบบทางเดินอาหารได้
4. ผักไฮโดรโปนิกส์ (HYDROPONICS)
การปลูกผักประเภทนี้เป็นการปลูกโดยใช้น ้าแทนดิน โดยผสม
อาหารที่จ าเป็นต่อการเจริญเติบโตลงในน ้า รากพืชที่สัมผัสน ้า
จะดูดซึมสารอาหารที่สะสมไว้ที่ใบ ส่วนรากที่ไม่สัมผสน ้าจะท า
ั
หน้าที่รับออกซิเจน ผักที่นิยมปลกประเภทนี้จะเป็นผักสลัด
ู
พันธุ์ต่าง ๆ ซึ่งต้องน าเข้าเมล็ดพันธุ์จากต่างประเทศ
ที่มา:https://www.bigc.co.th/blog/th/%E0%B8%9C%E
0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E
0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E
0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A9/
ผู้น าเสนอ : พันโทหญิง ไอเดีย อดุลยานุภาพ
สวัสดิการสาร มกราคม 2566 20