Page 17 - ตุลาคม 2565
P. 17
วิธีรับมือเมื่อรู้ว่าจะเกิดน ้าท่วม ในกรณีที่น ้าท่วมฉับพลัน หรือต้องอพยพออกจากบ้าน
- จัดเก็บเอกสารส าคัญไว้ในซองกันน ้า เช่น บัตรประจ าตัว กะทันหัน ควรปฏิบัติตัวดังนี้
ประชาชน, ทะเบียนบ้าน, เอกสารเกี่ยวกับรถ, เอกสารทาง 1. ปิดระบบไฟฟ้าให้เรียบร้อย พร้อมทั้งปิดแก๊สและ
การเงินและธนาคาร รวมถึงสมุดโน้ต ดินสอ และช่องทาง เครื่องใช้ไฟฟ้าด้วย
ส าหรับขอความช่วยเหลือต่าง ๆ 2. สวมเสื้อผ้าที่กระฉับกระเฉงและมีโทนสีสว่างเพื่อให้ง่าย
- เตรียมสิ่งของจ าเป็นเอาไว้ใช้ยามเกิดภัย เช่น น ้า อาหาร ต่อการเคลื่อนไหวและสังเกตเห็น
ยารักษาโรค เสื้อผ้า ถุงนอน ผ้าห่ม เอกสารส าคัญ ไฟฉาย และ 3. ฉีดสเปรย์หรือทายาป้องกันยุงและแมลง
้
่
ี
็
ถาน ไม้ขดและไฟแชค กระดาษช าระ ผาอนามัย ยากนยง 4. ห้ามเข้าใกล้สายไฟหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า
ุ
ั
ถงด า เชอก นกหวีด เทปกาว รองเท้าแตะ มีดพก และ 5. หลีกเลี่ยงการเดินตามเส้นทางที่น ้าไหล แม้ระดับจะไม่
ุ
ื
ี
เสื้อชูชีพ (ถ้ามี) สูงก็ตาม เนื่องจากความเชี่ยวของกระแสน ้าอาจท าให้เสยหลัก
- ตุนน ้าสะอาดส าหรับดื่มและใช้ให้ได้มากที่สุด และล้มได้
- ชาร์จแบตเตอรี่โทรศัพท์ให้พร้อมไว้ตลอด 6. กลับเข้าที่เดิม หากรู้สึกไม่ปลอดภัย หรือรู้สึกถึง
- ปิดช่องปลั๊กไฟเพื่อป้องกันน ้าเข้าและป้องกันไฟดูด กระแสไฟในน ้า แล้วแจ้งขอความช่วยเหลือ
- ยกของใช้ในบ้านที่จ าเป็นขึ้นที่สูงเพื่อป้องกันความเสียหาย น ้าท่วม เป็นภัยจากธรรมชาติที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้
- ปิดจุดที่น ้าจะเข้าบ้าน เช่น ใช้กระสอบทรายกันน ้า แต่สามารถลดความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นกับตัวเอง และ
ติดแผงกั้นน ้า ก่ออิฐกั้นน ้า และอุดช่องน ้าทิ้งหรือท่อน ้าบนพื้น ทรัพย์ของเราได้ ด้วยการตั้งสติให้ดี วางแผนเตรียมรับมือ
เป็นต้น เตรียมความพร้อมไว้ก่อน ไม่ควรประมาท หรือมองว่า
- ย้ายผู้ป่วย เด็ก คนชรา และสัตว์เลี้ยงไปอยู่ในพื้นที่ น ้าจะไม่ท่วม เพราะเมื่อถึงเวลาที่น ้าท่วมจะได้ไม่รับ
ปลอดภัย ความสูญเสียมาก และคอยติดตามข่าวสารอย่างใกล้ชิด
- เคลื่อนย้ายยานพาหนะทั้งรถจักรยานยนต์ และรถยนต์ จัดเก็บข้าวของให้พร้อม และอพยพไปยังที่ปลอดภัย
ไปไว้ในพื้นที่ที่น ้าท่วมไม่ถึง ...........................................
ที่มา : https://home.kapook.com/view232689.html
ผู้น าเสนอ : ร้อยโท ภัทรพงศ์ ทัพวนานต์
สวัสดิการสาร ตุลาคม 2565 17