Page 14 - ตุลาคม 2565
P. 14
กองการออมทรัพย์
www.oomsub.com
หากต้องการจัดการหนี้สิน สิ่งที่ต้อง “หยุด”
ประเภทหนี้ ยอดหนี้รวม อัตราดอกเบี้ย ยอดต้องจ่ายต่อเดือน วันครบก าหนดช าระ
ก่อนอันดับแรก คือ การเพิ่มหนี้ หนี้บ้าน 2,000,000 5% 14,000 วันที่ 27 ของทุกเดือน
ทุกวันนี้ไม่ว่าจะมองไปทางไหน ก็เจอแต่สิ่งล่อตาล่อใจ หนี้รถยนต์ 590,000 2.70% 8,370 วันที่ 25 ของทุกเดือน
ให้เงินวิ่งออกจากกระเป๋าของเราทั้งนั้น ร้านค้าก็ขยันออก หนี้ผ่อนโทร- 22,000 0% 2,200 วันที่ 1 ของทุกเดือน
ศัพย์
โปรโมชั่นอย่างไม่หยุดหย่อน ไหนจะโปรลด 50% โปรผ่อน
0% 10 เดือน บางคนควบคุมความอยากซื้อของตัวเองไม่ได้
บริหารเงินไม่เป็น จนต้องกระทบเงินที่เอาไว้ใช้จ่ายในแต่ละวัน
ลามไปถึงเงินออมที่แทนจะได้ออมให้งอกเงย แต่กลับต้องเอา
มาช าระหนี้สินแทน
ถ้าใครพลาดไป และต้องการก าจัดหนี้สินที่เกิดขึ้นให้
หมดไปโดยเร็วที่สุด สิ่งแรกที่ต้องหยุดเลย คือ การเพิ่มหนี้
บางคนมีวิธีช าระหนี้ด้วยการกู้เงินมาเพื่อจ่ายหนี้ ซึ่งเป็น
ความคิดที่ผิดมหันต์ และท าให้เราต้องเป็นหนี้โดยไม่รู้จบ หยุด
ความคิดแบบเดิม ๆ และเริ่มต้นใหม่ด้วยวิธีดังน ี้
2. ดูรายรับต่อเดือน และค านวณงบส าหรับรายจ่ายส่วนตัว
แต่ละเดือน
น ารายได้ - หนี้สิน(ต่อเดือน) - (เงินออม) = งบ
้
ส าหรับรายจ่ายส่วนตัว แต่ละเดือน ถาดูแล้วรายจ่ายแต่ละ
เดือนยังอยู่ในระดับที่เรายังใช้จ่ายเพียงพอ และพอเหลือใช้อยู่
บ้าง อย่าลืมหักเงินซักนิด มาออมไว้ เพื่อเป็นเงินฉุกเฉิน หาก
โชคร้ายมีเหตุการณ์ไม่คาดฝันเกิดขึ้นกับเรา ก็ยังสามารถที่จะ
ช าระหนี้ และใช้จ่ายในแต่ละเดือนได้โดยไม่ต้องกังวล แต่ถ้า
หนี้สินเยอะมาก จนเงินไม่พอใช้ สิ่งที่ควรท า คือ ลองหาทาง
เพิ่มรายรับ หาวิธีลดรายจ่ายส่วนตัว เช่น ลดรายจ่ายฟมเฟือย
ุ่
1. แจกแจงหนี้ หนี้บัตรเครดิต หนี้บัตรกดเงินสด หนี้ผ่อน หรือสิ่งที่ไม่จ าเป็นลงบ้าง และหาทางลดหนี้โดยด่วน เช่น
บ้าน หรือหนี้ผ่อนรถ หาทาง Refinance เพื่อลดภาระดอกเบี้ย เป็นต้น
ท าเป็นตารางใส่ประเภทหนี้, ยอดหนี้รวม, อัตรา
ดอกเบี้ย และยอดที่ต้องจ่ายต่อเดือนรวมถึงวันครบก าหนด
ช าระของหนี้แต่ละก้อน เริ่มต้นด้วยวิธีนี้ จะท าให้เราเห็นภาพ
มากขึ้นว่า ภาระหนี้ในแต่ละเดือน รวม ๆ แล้วเป็นจ านวนเงิน
เท่าไหร่ ยอดไหนต้องช าระวันที่เท่าไร ท าให้บริหารจัดการเงิน
ได้ง่ายขึ้น
สวัสดิการสาร ตุลาคม 2565 14