Page 20 - ตุลาคม 2565
P. 20
วิธีสังเกตอาการว่าติดเชื้อไวรัส RSV เนื่องจากอาการ - หลีกเลี่ยงการไปสถานที่แออด ไม่ควรพาเด็กไป
ั
ของโรคจากเชื้อไวรัส RSV อาจแยกไม่ได้จากไวรัสระบบ เล่นในที่ ๆ มีเด็กเล่นอยู่ด้วยกันจ านวนมาก
ทางเดินหายใจตัวอื่น ๆ แต่มักรุนแรงกว่า แพทย์จะสงสัยโรคนี้ - หลีกเลี่ยงการสัมผัสควันบุหรี่ เนื่องจากอาจท าให้
ในเด็กเล็กที่มีอาการหลอดลมฝอยอักเสบ โดยเฉพาะในช่วงฤดู เกิดอาการรุนแรงในขณะที่มีการติดเชื้อไวรัส RSV ได้
ที่มีการระบาด แต่การวินิจฉัยให้รู้แน่ต้องใช้การตรวจทาง - ผู้ป่วยควรงดการออกนอกบ้านช่วงที่ไม่สบายเพื่อ
ห้องปฏิบัติการ การตรวจเพื่อให้รู้เชื้อไม่มีความจ าเป็นในผู้ที่ ลดการแพร่กระจายเชื้อไปยังผู้อื่น และควรปิดปากปิดจมูก
อาการไม่หนัก เพราะการรักษาไม่แตกต่างจากไวรัสระบบ เวลาไอจาม
ทางเดินหายใจตัวอื่น ๆ แพทย์มักจะตรวจหาเชื้อโดยการป้าย
โพรงจมูกไปตรวจในกรณีที่มีอาการหนัก นอกจากนี้อาจจะต้องมี
ั
ุ
การเอกซเรย์ปอด หากสงสยว่าการติดเชอนนลกลามจน
ื้
ั้
ั
เกดภาวะปอดอกเสบ
ิ
วิธีการรักษา ในขณะนี้ยังไม่มีการรักษาส าหรับการติด
ไวรัส RSV จะเน้นการรักษาตามอาการ เช่น การทานยาลดไข ้
ยาแก้ไอละลายเสมหะ การดื่มน้าให้เพียงพอป้องกันภาวะการ
ขาดน ้าและรักษาร่างกายให้อบอุ่น ผู้ป่วยที่อาการไม่รุนแรง
ไม่จ าเป็นต้องนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล สามารถทานยาและ
พักผ่อนที่บ้านได้
ผู้ป่วยเด็กเล็ก ผู้ที่มีโรคอื่น ๆ ร่วม และผู้สูงอายุจัดว่า
เป็นกลุ่มเสี่ยงที่อาจจะมีอาการรุนแรงได้ มักจะมีอาการไข้สูง
ซึมลง มีภาวะหายใจหอบเหนื่อยหรือภาวะการขาดน ้าแนะน า
ให้พามาพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยและนอนพักรักษาตัวใน
โรงพยาบาล การรักษาในโรงพยาบาลจะเน้นรักษาตามอาการ
้
ิ
ื่
่
เชน มีการใหออกซเจนในรายที่มีอาการหอบเหนอย
การให้สารน ้าทางหลอดเลือดด าในรายที่มีภาวะการขาดน ้า ที่มา : คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
และอาจมีการพ่นยาขยายหลอดลม เป็นต้น ผู้น าเสนอ : พันเอกหญิง พรรวินท์ สิงหเดช
วิธีป้องกัน ในปัจจุบันนี้ยังไม่มีวัคซีนที่ใช้ป้องกันการ
ติดเชื้อไวรัส RSV แต่เราสามารถป้องกันได้ ดังน ี้
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ที่มีอาการป่วย
- ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน ้าสะอาด ควรสอนให้
เด็ก ๆ ล้างมืออย่างถูกต้อง และรักษาสุขอนามัย
สวัสดิการสาร ตุลาคม 2565 20