Page 22 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 22
เมื่อพิจารณาพฤติกรรมการบริโภคของคนไทย จะเห็นว่าใน นอกจากนี้ จากความกังวลด้านราคาสินค้า/บริการที่เพิ่มขึ้น
กลุ่มผู้มีรายได้น้อยหรือรายได้ยังไม่เข้มแข็งที่ต้อง ธุรกิจจึงควรทบทวนกลยุทธ์การปรับเปลี่ยนราคาและการท า
โปรโมชั่น แม้การปรับราคาขึ้นอาจท าได้ยาก แต่เชื่อว่า
ระมัดระวังในการใช้จ่าย มีพฤติกรรมแบบเดียวกับ
ในสหรัฐฯ ที่ผู้บริโภคไปซื้อสินค้าบ่อยครั้งมากขึ้น แต่ ผู้บริโภคจะยินดีจ่ายในราคาที่สูงขึ้น หากสัมผัสได้ถึงความ
จ านวนสินค้าหรือยอดใช้จ่ายต่อใบเสร็จลดลง ด้าน คุ้มค่าที่สะท้อนอยู่ในคุณภาพสินค้า/บริการที่ได้รับ
พฤติกรรมการซื้อออนไลน์พบว่า Gen Z ซื้อสินค้าบ่อย และ อย่างชัดเจน รวมถึงความขยันในการท าโปรโมชั่นก็เป็นส่วน
มีแนวโน้มที่จะซื้อผ่านช่องทางนี้มากขึ้น แต่สินค้าที่ซื้อราคา ส าคัญที่ช่วยให้ยอดขายเพิ่มขึ้นได้ เนื่องจากจะดึงดูดลูกค้าที่
ที่ไม่แพง โดยส่วนใหญ่ยอดรวมการซื้อสินค้าเฉลี่ยอยู่ไม่เกิน ไปซื้อสินค้า/บริการถี่ขึ้น สุดท้ายผู้เขียนขอเป็นก าลังใจให้
1,000 บาท/เดือน ขณะที่ Gen อื่นที่มีอายุมากกว่า อาจซื้อ ผู้ท าธุรกิจทุกท่านลองปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ต่าง ๆ เพื่อให้ธุรกิจ
สินค้าไม่บ่อยเท่า แต่ยอดรวมเฉลี่ยต่อเดือนที่สูงกว่า เติบโตได้อย่างยั่งยืน
โดยมีข้อสังเกตพฤติกรรมการซื้อออนไลน์ที่แตกต่าง [1] Consumer Packaged Goods
กันอย่างชัดเจน ซึ่ง นิยมซื้อผ่านโซเชียลคอมเมิร์ซ (Social [2] McKinsey (2567), “Consumers: Spending more
Commerce)ที่เป็นการขายสินค้า/บริการผ่านโซเชียลมีเดีย to buy less”
(Social Media) โดยตรง เช่น TikTok Facebook และ [3] กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่เกิดในช่วงปี พ.ศ. 2540 - 2555 โดย ณ
Instagram ซึ่งเป็นช่องทางที่ตอบโจทย์รสนิยมการบริโภค ปีปัจจุบัน 2567 Gen Z จะอยู่ในช่วงอายุ 12-27 ปี
ของกลุ่มนี้ ที่เน้นการได้รับประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับ [4] ธนาคารแห่งประเทศไทย (2567), “รายงานแนวโน้ม
คุณค่าของผู้บริโภคมากกว่าการได้รับคุณค่าพื้นฐานทั่วไป ธุรกิจ (ไตรมาสที่ 1/2567)”
ของสินค้า/บริการ ซึ่งโซเชียลคอมเมิร์ซเป็นการค้าที่มอบ [5] ส านักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (2567), “สนค.
ประสบการณ์ด้านความบันเทิงเพื่อสร้างความสุขให้ แนะ เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคออนไลน์ ปรับธุรกิจให้ดึงดูดใจ
ผู้บริโภคเพิ่มเติม (Shoppertainment) ขณะที่ Gen อื่นจะ นักช้อป”
เน้นไปที่คุณค่าและคุณภาพของสินค้า/บริการที่จับต้องได้ [6] ส านักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (2567),
“พาณิชย์แนะ รีวิวใช้จริง ดันยอดกิน เที่ยว ช็อป”
บทความนี้เป็นความคิดเห็นส่วนบุคคล จึงไม่จ าเป็นต้อง
สอดคล้องกับความเห็นของหน่วยงานที่ผู้เขียนสังกด
ั
ผู้เขียน : ดร.มณฑลี กปิลกาญจน์
ฝ่ายเศรษฐกิจมหภาค ธปท.
จากพฤติกรรมการบริโภคที่ให้ความส าคัญกับความคมค่า
ุ้
ของเงินที่เสียไปในการซื้อสินค้า/บริการมากขึ้น รวมถึงการ
บริโภคในอนาคตจากกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่เน้นการได้รับ
ประสบการณ์มากกว่าคุณค่าพื้นฐานของสินค้า/บริการ
ธุรกิจอาจต้องปรับเปลี่ยนช่องทางการขายให้เหมาะสมกับ
กลุ่มลูกค้ามากขึ้น โดยหันมาเน้นช่องทางการขายที่ยัง
ื่
เติบโตได้ดีและปิดบางช่องทางเพอลดต้นทุน หรืออาจเปิด
ช่องทางโซเชียลคอมเมิร์ซเพิ่มหากลูกค้าหลักเป็น GenZ ที่มา : https://www.bot.or.th/th/research-and-
publications/articles-and-publications/articles/article-
ซึ่งการขายในช่องทางอื่นยังไม่ตอบโจทย์มากพอ
2024jun06.html
ผู้น าเสนอ : ร้อยโทหญิง ธิดารัตน์ พิเคราะห์ภูม ิ
สวัสดิการสาร ตุลาคม 2567 22