Page 14 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 14

พระราชประเพณีการเปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้วมรกต
                                                        กระท าปีละ 3 หน คือ
   ฝาผนังด้านยาวเขียนภาพเทพชุมนุมตามแบบที่สืบเนื่องมาจาก    - วันแรม 1 ค ่า เดือน 4 เพื่อทรงเครื่องส าหรับฤดูร้อน
   สมัยอยุธยา ฝาผนังระหว่างหน้าต่างเขียนภาพเรื่องปฐมสมโพธิ   - วันแรม 1 ค ่า เดือน 8 เพื่อทรงเครื่องส าหรับฤดูฝน

   หลังคามุงด้วยกระเบื้องเคลือบ ซึ่งปรากฏว่ามีการแก้ไขใน    - วันแรม 1 ค ่า เดือน 12 เพื่อทรงเครื่องส าหรับฤดูหนาว
   รัชกาลที่ 3 และ 4 ดังจะเห็นได้ในปัจจุบัน ภายในพระอุโบสถ    วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือ วัดพระแก้ว เปิดให้เข้าชม

   ได้รับการตกแต่งอย่างวิจิตรงดงามตั้งแต่เพดานถึงพื้น กลางห้อง  ทุกวัน (ยกเว้นวันที่มีพระราชพิธีต่าง ๆ) ตั้งแต่เวลา 08.30-
   ประดิษฐาน พระแก้วมรกต ในบุษบกทองค า พร้อมด้วย
   พระพุทธรูปส าคัญมากมาย                               15.30 น. คนไทยไม่เสียค่าใช้จ่าย ส าหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ
                                                        ค่าบัตรเข้าชม 500 บาท สามารถเข้าชมพระบรมมหาราชวัง
                                                        และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พิพิธภัณฑ์ผ้า ซึ่งทั้งหมดตั้งอยู่
                                                        ในบริเวณพระบรมมหาราชวัง

                                                        การแต่งกายเข้าวัดพระแก้ว

                                                              การเข้าชม วัดพระแก้ว ซึ่งเป็นเขตพระราชฐาน ทั้งยัง
                                                        เป็นสถานที่ส าคัญยิ่งของชาติ จึงต้องแต่งกายให้สุภาพ
                                                        เรียบร้อย เพื่อแสดงความเคารพต่อสถานที่ อีกทั้งควรปฏิบัติ

                                                        ตามกฎระเบียบของวัด ได้แก่ ห้ามสวมเสื้อแขนกุด สายเดี่ยว
                                                        หรือเสื้อที่เปิดไหล่ทุกชนิด, ห้ามสวมใส่กางเกงขาสั้น กางเกง
          กลุ่มอาคารและสิ่งประดับอื่น ๆ : หอพระนาก
                                              ั
   พระเศวตกุฏาคารวิหารยอด หอมณเฑียรธรรม พระอษฎามหา      สามส่วน กางเกงยีนส์ขาด ๆ ส่วนกระโปรงก็ไม่สั้นจนเกินไป
   เจดีย์ ยักษ์ทวารบาล และจิตรกรรมฝาผนังที่พระระเบียง ซึ่งมี  ทางที่ดีควรเลยหัวเข่าลงมา ส าหรับรองเท้าก็ควรเป็นรองเท้าสุภาพ
   ภาพวาดจิตรกรรมฝาผนังจ านวน 178 ห้อง เรียงต่อกันยาว         ฉบับหน้าจะขอกล่าวถึง พระแก้วมรกต ว่ามีเรื่องราว

   ตลอดฝาผนังทั้ง 4 ทิศ มีเนื้อหาจากวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์  และความเป็นมาที่น่าสนใจอย่างไร แล้วมาติดตามกันต่อนะคะ

   พระแก้วมรกต พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง
         พระแก้วมรกต หรือ พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร

   เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ นั่งขัดสมาธิราบ เป็นศิลปะแบบ
   ล้านนาตอนปลาย สร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 20 แกะสลัก   ที่มา : https://travel.kapook.com/view1024.html
                                                                ตรวจถูกต้อง
   จากเนื้อหยกสีเขียวทึบชิ้นเดียว มีขนาดหน้าตักกว้าง 48.30                พ.อ.

   เซนติเมตร ความสูงจากฐานถึงพระรัศมี 66 เซนติเมตร มีพุทธ             ผู้น าเสนอ : พันโทหญิง พรพิมล  รักษาแก้ว
                                                                              (เชฏฐ  กิจวัฒนา)
   ลักษณะงดงาม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก                                ผอ.กฌป.สก.ทบ.

   ทรงอัญเชิญมาจากพระวิหารน้อย วัดอรุณราชวรารามราช                                   ส.ค. 67
   วรมหาวิหาร เมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2327




                                 สวัสดิการสาร                  ตุลาคม 2567                               14
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19