Page 13 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 13
กองการฌาปนกิจ
https://chapanakit.rta.mi.th
โดยแบ่งเขตออกเป็นเขตพระราชฐานชั้นนอก
เขตพระราชฐานชั้นกลาง และเขตพระราชฐานชั้นใน
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) ได้ท าการสร้างวัด
พร้อมกับการสร้างพระบรมมหาราชวัง ตามประเพณี การ
สร้างวัดภายในเขตพระราชวังที่มีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย
เป็นราชธานี มีความแตกต่างจากวัดทั่วไป คือ มีเฉพาะเขต
พุทธาวาส ไม่มีพระสงฆ์จ าพรรษา เป็นวัดส าหรับ
พระมหากษัตริย์ทรงบ าเพ็ญพระราชกุศลต่าง ๆ ตามโบราณ
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือวัดพระแก้ว พระอาราม ราชประเพณี
หลวงชั้นพิเศษ ที่ตั้งอยู่ตรงมุมด้านตะวันออกเฉียงเหนือของ สิ่งน่าสนใจในวัดพระแก้ว
พระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร อีกทั้งยังเป็นที่ ภายใน วัดพระแก้ว มีอาคารส าคัญ และอาคาร
ประดิษฐาน พระมหามณีรัตนปฏิมากร หรือ พระแก้ว ประกอบเป็นจ านวนมาก จึงขอแบ่งกลุ่มอาคารออกเป็น 3 กลุ่ม
มรกต รวมถึงใช้เป็นที่ประกอบพระราชพิธีทางศาสนาที่ส าคัญ ตามต าแหน่งและความส าคัญ
เราจึงอยากจะพาไปท าความรู้จักกับ วัดพระแก้ว กันให้มากขึ้น กลุ่มพระอุโบสถ : เป็นกลุ่มที่มีความส าคัญสูงสุดมี
ประวัติวัดพระแก้ว "พระอุโบสถ" เป็นอาคารประธาน ซึ่งเป็นที่ประดิษฐาน
พระบรมมหาราชวัง เป็นพระราชนิเวศน์แห่งแรกใน พระแก้วมรกต ล้อมรอบด้วยศาลาราย พระโพธิ์ธาตุพิมาน
กรุงเทพมหานคร พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช หอราชพงศานุสรณ์ หอราชกรมานุสรณ์ หอระฆัง หอพระ
(รัชกาลที่ 1) พระปฐมบรมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ คันธารราษฎร์
ได้ทรงสถาปนาขึ้น เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2325 บนฝั่ง ส าหรับพระอุโบสถตั้งอยู่ส่วนกลางของวัด มีก าแพงแก้ว
ตะวันออกของแม่น ้าเจ้าพระยา ตรงข้ามกับพระราชวังเดิมของ ล้อมรอบ มีซุ้มประดิษฐานเสมารวม 8 ซุ้ม พระบาทสมเด็จ
กรุงธนบุรี โดยโปรดเกล้าฯ ให้ เจ้าพระยาธรรมาธิกรณ์ และ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นใน
พระยาวิจิตรนาวี เป็นแม่กองในการก่อสร้าง และในวันที่ พ.ศ. 2326 ก่อนจะส าเร็จเรียบร้อยใน พ.ศ. 2328 ส่วนหลักฐาน
1 3 มิถุนายน พ.ศ 2325 เวลา 6 นาฬิกา 2 4 นาที การก่อสร้างและรายละเอียดทางสถาปัตยกรรมของพระอุโบสถ
.
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ไม่ชัดเจนนัก นอกจากบ่งไว้ว่าฝาผนังรอบนอกเป็นลายรดน ้า
เสด็จพระราชด าเนินโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารคจาก ปิดทองรูปกระหนกเครือแย่งทรงข้าวบิณฑดอกในบนพื้นสีชาด
์
พระราชวังกรุงธนบุรีข้ามแม่น ้าเจ้าพระยา มายัง ฝาผนังด้านในเหนือประตูสกัดเป็นภาพเรื่อง มารวิชัยและ
พระบรมมหาราชวัง ทรงประกอบพระราชพิธีปราบดาภิเษก เรื่องไตรภูมิ
และเฉลิมพระราชมณเฑียร แต่เดิมมีเนื้อที่ 132 ไร่ ต่อมา
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) ทรงให้
ขยายเนื้อที่เพิ่มขึ้นอีก 20 ไร่ 2 งาน รวมมีเนื้อททั้งสิ้น 152 ไร่
ี่
2 งาน
สวัสดิการสาร ตุลาคม 2567 13