Page 11 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 11
วันลอยกระทง 2567
กองการสงเคราะห์
www.songkhro.com
2. เพื่อเป็นการสักการะรอยพระพุทธบาทนัมมทานที
เมื่อคราวที่พระพทธเจ้าเสด็จไปแสดงธรรมโปรดในนาคพภพ
ิ
ุ
3. เพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์ และสิ่งไม่ดีต่าง ๆ
คล้ายกับพิธีลอยบาปของพราหมณ์
4. เพื่อเป็นการบูชาพระอุปคุต ที่ชาวไทยภาคเหนือ
ให้ความเคารพ โดยมีต านานเล่าว่าเป็นพระที่มีอิทธิฤทธิ์มาก
สามารถปราบพญามารได้
5. เพื่อรักษาขนบธรรมเนียมของไทย และเป็นการ
ส่งเสริมการท่องเที่ยว
6. เพื่อความบันเทิงเริงใจ เนื่องจากการลอยกระทง
เป็นการนัดพบปะสังสรรค์กันในหมู่ผู้ไปร่วมงาน
7. เพื่อส่งเสริมงานฝีมือและความคิดสร้างสรรค์
และยังรักษาภูมิปัญญาพื้นบ้านไว้อีกด้วย
วันลอยกระทง ของทุกปีจะตรงกับวันขึ้น 15 ค ่า ประเพณีลอยกระทงในแต่ละภาค
เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย หรือถ้าเป็นปฏิทิน ภาคเหนือ (ตอนบน) จะเรียกว่า "ยี่เป็ง“ โดยชาว
จันทรคติล้านนาจะตรงกับเดือนยี่ และหากเป็นปฏิทิน เหนือจะนิยมประดิษฐ์โคมลอย หรือที่เรียกว่า "ว่าวฮม"
สุริยคติจะอยู่ราวเดือนพฤศจิกายน โดย วันลอยกระทง หรือ "ว่าวควัน" โดยการใช้ผ้าบาง ๆ แล้วสุมควันข้างใต้
2567 ตรงกับวันศุกร์ที่ 15 พฤศจิกายน ให้โคมลอยขึ้นไปในอากาศ เพื่อเป็นการบูชาพระอุปคุต
ประวัติวันลอยกระทงนั้น ไม่มีหลักฐานระบุแน่ชัด
ว่าเริ่มตั้งแต่เมื่อใด แต่เชื่อว่าประเพณีนี้ได้สืบต่อกันมา
ยาวนานตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยในรัชสมัยพ่อขุนรามค าแหง
เรียกประเพณีลอยกระทงนี้ว่า "พิธีจองเปรียญ" หรือ
"การลอยพระประทีป" และมีหลักฐานจากศิลาจารึก
หลักที่ 1 กล่าวถึงงานเผาเทียน เล่นไฟ ว่าเป็นงานรื่นเริง
ที่ใหญ่ที่สุดของกรุงสุโขทัย ท าให้เชื่อกันว่างานดังกล่าว
น่าจะเป็นงานลอยกระทงอย่างแน่นอน
เหตุผลและความเชื่อของการลอยกระทง
สาเหตุที่มีประเพณีลอยกระทงขึ้นนั้น เกิดจาก จังหวัดตาก จะประดิษฐ์กระทงขนาดเล็กแล้ว
ความเชื่อหลาย ๆ ประการของแต่ละท้องที่ ได้แก่ ปล่อยลอยไปพร้อม ๆ กัน เพื่อให้เรียงรายเป็นสาย
1. เพื่อแสดงความส านึกถึงบุญคุณของแม่น ้า เรียกว่า "กระทงสาย"
ตลอดจนเป็นการขอขมาต่อพระแม่คงคา
สวัสดิการสาร ตุลาคม 2567 11