Page 16 - 0967
P. 16
กองการฌาปนกิจ
https://chapanakit.rta.mi.th
เวลาผ่านมาจวบจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1
ได้โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระพุทธรูปจากหัวเมืองต่าง ๆ
มาประดิษฐานยังกรุงเทพมหานคร หลวงพ่อทองค า
ที่ถูกปูนพอกไว้ทั้งองค์ก็ถูกอัญเชิญมาด้วยเช่นกัน โดยตอนแรก
ได้ไปประดิษฐานอยู่ที่วัดพระยาไกรอยู่นาน จนเมื่อปี พ.ศ. 2478
จึงได้อัญเชิญต่อมาประดิษฐานยังวัดไตรมิตรวิทยาราม
ซึ่งในขณะนั้นชื่อว่า วัดสามจีน
เมื่อพูดถึงทองค าแท้แล้ว เรากลับนึกไปถึง "พระพุทธรูป
ทองค า" พระพุทธรูปงามล ้าค่าของไทยอย่าง "หลวงพ่อ
ทองค า" หรือ "พระพุทธมหาสุวรรณปฏิมากร" แห่งวัดไตร
มิตรวิทยาราม ย่านเยาวราช ซึ่งถือเป็น "พระพุทธรูปทองค า
องค์ใหญ่ที่สุดในโลก" ที่ถูกบันทึกไว้ในThe Guinness Book
of World Record ค.ศ. 1991 ว่าเป็นพระพุทธรูปทองค าที่มี
ขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยขนาดขององค์พระนั้นมีขนาดหน้า
ตักกว้าง 6 ศอก 5 นิ้ว หรือมากกว่า 2.50 เมตร ความสูงจาก
พระเกตุมาลาถึงฐานทับเกษตร (ฐานที่รองรับพระพุทธรูป) เมื่อมาประดิษฐานที่วัดไตรมิตรฯ เป็นเวลาอีกกว่า 20 ปี
7 ศอก 1 คืบ 9 นิ้ว หรือประมาณ 3.04 เมตร 10 ฟุต น ้าหนัก ด้วยกันที่พระพุทธรูปทองค าถูกปกปิดด้วยปูนที่พอกไว้ จนเมื่อ
ประมาณ 5.5 ตัน และที่ส าคัญคือสร้างด้วยทองค าแท้ มีมูลค่า มีการประกอบพิธีอัญเชิญพระพุทธรูปมาประดิษฐาน
สูงกว่า 21 ล้านปอนด์ บนพระวิหาร ก็ได้เกิดอุบัติเหตุเชือกที่ยกองค์พระขาดลง ท าให้
พระพุทธรูปตกลงมากระแทกพื้นอย่างแรงจนปูนที่พอกไว้
ส าหรับความเป็นมา
ของหลวงพ่อทองค านั้น เชื่อกันว่า กะเทาะออกบางส่วน แต่นั่นก็เป็นเหตุให้ทราบว่าภายใต้ปูน
ุ
พระพุทธรูปองค์นี้ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่ ที่พอกไว้นั้นมีพระพทธรูปทองค าสุกปลั่งงดงาม อีกทั้งยังพบว่า
สมัยสุโขทัย และเคยประดิษฐาน ที่ใต้ฐานพระมีกุญแจที่ใช้ไของค์พระแยกออกเป็นส่วน ๆ
อยู่ที่วัดมหาธาตุ กลางเมืองสุโขทัย รวม 9 ส่วน ท าให้การเคลื่อนย้ายองค์พระในเวลาต่อมาสามารถท า
แต่เมื่ออาณาจักรสุโขทัยเสื่อม ได้อย่างสะดวกราบรื่น
อ านาจลง ชาวเมืองจึงได้ซ่อน และจากเหตุการณ์นั้น พระบาทสมเด็จพระบรม
ความงามอร่ามขององค์พระพุทธรูป ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ทองค าด้วยการลงรักและพอกปูนทับ เพื่อให้รอดพ้นจาก รัชกาลที่ 9 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม
สายตาของข้าศึกศัตรู ท าให้ไม่มีใครรู้เลยว่า พระพุทธรูปทองค าองค์นี้ว่า "พระพุทธมหาสุวรรณปฏิมากร"
พระพุทธรูปองค์นี้มีเนื้อแท้เป็นทองค า ตามลักษณะของพระพุทธรูป แต่ประชาชนทั่วไปนิยมเรียก
พระองค์นี้ว่า "หลวงพ่อทองค า" มาจนปัจจุบัน
สวัสดิการสาร กันยายน 2567 16