Page 16 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 16

คอมพิวเตอร์ซินโดรม โรคฮิตของคนติดจอ

                                                                                                 กองธุรการ
                                                                                        www.awd-rta.com


                                                        ควรแก้ไขสายตาให้มองเห็นชัดที่สุด เพื่อลดการเพ่งมองโดย
                                                        ไม่จ าเป็น บางคนสายตาผิดปกติไม่มาก หากท างานตามปกติ
                                                        ก็อาจจะไม่มีอาการอะไร แต่เมื่อมาท างานกับจอคอมพิวเตอร์

                                                        จะเกิดอาการเมื่อยล้าได้

                                                        การป้องกัน
                                                            1. การจัดระยะของคอมพิวเตอร์ที่ช่วยให้สบายตาที่สุด
                                                        คือ ระยะห่างจากระดับสายตา 20-24 นิ้ว และวางอยู่ระดับที่

         คอมพิวเตอร์ซินโดรม คือ ความเจ็บปวดจากการ       ต ่ากว่าระดับสายตา 10-20 องศา
                                                            2. ปรับแสงสว่างของห้องให้เพียงพอ บริเวณรอบจอและ
      ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลัก ได้แก่ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย   หน้าจอคอมพิวเตอร์ก็ต้องมีความสว่างเท่ากับห้อง แสงไม่จ้า

      ปวดหลัง ปวดไหล่ ปวดต้นคอ เจ็บแขน                  หรือมืดจนเกินไป

      สาเหตุที่ท าให้เกิดภาวะคอมพิวเตอร์ซินโดรม             3. ติดตั้งแผ่นกรองแสง เพื่อลดแสงสะท้อน ไม่ต้องเพ่ง
         1. กะพริบตา                                    สายตาหากแสงสว่างมากเกินไป

         การกะพริบตาเป็นพฤติกรรมโดยธรรมชาติที่ช่วย          4. ปรับขนาดตัวอักษรหน้าจอให้มีขนาดประมาณ 3
      เกลี่ยน ้าตาให้ชุ่มชื้นทั่วบริเวณดวงตา โดยทั่วไปคนเรา  เท่าของขนาดตัวหนังสือที่เล็กที่สุดที่สามารถอ่านได้จาก
      กระพริบตา 20 ครั้ง/นาที แต่การท างานหน้าคอมพิวเตอร์  จอคอมพิวเตอร์ในระยะเดียวกัน และควรเป็นสีด าบนพื้น
                                                        สีขาว
      หรือแม้กระทั่งการอ่านหนังสือ เราต้องใช้สายตาจ้อง และ  5. กะพริบตาให้สม ่าเสมอ เพื่อให้มีการคลายกล้ามเนื้อ
      เพ่งสิ่งนั้นเป็นเวลานาน กว่า 60% ท าให้ผิวตาเหือดแห้ง   หรือพักสายตาโดยให้มองไกลประมาณ 1-2 นาที อย่างน้อย

      มีอาการแสบตา ตาแห้ง รู้สึกฝืด ๆ ในตา              1-2 ครั้งทุกชั่วโมง และควรหยุดพักการท างานประมาณ 5-15 นาที
         2. เรื่องของแสง                                ทุก 1-2 ชั่วโมง
         เมื่อได้รับแสงสะท้อนจากคอมพิวเตอร์ แสงแดดที่ส่อง   6. ใช้แว่นสายตา ในคนที่มีสายตายาว ซึ่งมีช่วงการมอง

      เข้าหน้าโดยตรง รวมถึงแสงสว่างที่ไม่เพียงพอ ทั้งหมด  หรือจุดโฟกัสหลายระดับ โดยเฉพาะที่ส าคัญคือระยะกลาง
      จะสะท้อนกลับเข้าดวงตาจึงมีอาการเมื่อยล้าดวงตาได้ง่าย  ซึ่งเป็นต าแหน่งของจอคอมพิวเตอร์

          3. ระยะห่าง                                       7. ใช้แว่นตาที่มีเลนส์เคลือบสารที่ป้องกันการสะท้อน
         การจัดจอภาพให้อยู่ในระยะพอเหมาะที่ตามองสบาย ๆ  เพื่อช่วยลดการสะท้อนของแสงเข้าตา
                                                            8. ปรึกษาจักษุแพทย์หากพบอาการ หรือการมองภาพ
      ไม่ต้องเพ่ง โดยเฉลี่ยระยะจากตาถึงจอภาพควรเป็น 0.45   ผิดปกติไปจากเดิม

      ถึง 0.50 เมตร และดวงตาอยู่สูงกว่าจอภาพโดยเฉพาะผู้ที่
      ใช้แว่นสายตาที่มองทั้งระยะใกล้และไกล จะต้องตั้งจอภาพ

      ให้ต ่ากว่าระดับตา เพื่อจะได้มองตรงกับเลนส์แว่นตาที่ใช้
      มองใกล้
         4. โรคประจ าตัวที่มีอยู่เดิม

         ความผิดปกติของสายตาที่มีอยู่เดิม เช่น สายตาสั้น
      ยาว เอียงหรือปัญหาสายตาของผู้สูงอายุ              ที่มา : https://www.phyathai-sriracha.com/article

                                                                       ผู้น าเสนอ : พันโทหญิง บุศรินทร์ อุลปาทร


                                  สวัสดิการสาร                กุมภาพันธ์  2568                           16
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21