Page 7 - ตุลาคม 2565
P. 7
ยาท าให้เกิดโรคแผล
เอ็นเสดเป็น “ยาบรรเทาอาการอักเสบที่ไม่ใช ่
สเตียรอยด์ (non-steroidal antiinflammatory drugs ในกระเพาะอาหารได้อย่างไร?
หรือ NSAIDs)” ที่รู้จักกันในชื่อว่า “ยาแก้ปวดข้อ” ยาแก้ปวดในกลุ่มเอ็นเสดท าให้เกิดโรคแผลใน
ั
หรือ “ยาแก้ข้ออักเสบ” ยาในกลุ่มนี้ล้วนออกฤทธิ์ยับย้ง กระเพาะอาหารหรือ “โรคกระเพาะ” ได้ด้วยกลไกหลาย
เอนไซม์ "ไซโคลออกซิจีเนส หรือ "ค็อกซ์ " อย่าง เช่น ท าให้เกิดการระคายเนื้อเยื่อบุผิว (epithelium)
“
(cyclooxygenase หรือ COX) ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ใช้ในการ ในกระเพาะอาหารโดยตรง ท าอันตรายต่อชั้นเยื่อเมือก
สร้างสารพรอสตาแกลนดิน (ดูข้อมูลเพิ่มเติมเรื่อง ยาแก ้ (mucosa) ผ่านการชักน าให้เกิดการสร้างอนุมูลอิสระ ท า
้
ปวดข้อ ขออักเสบ-กลุ่มเอ็นเสด) เอนไซม์มีทั้งชนิด ให้หลอดเลือดขนาดเล็กที่ชั้นเยื่อเมือกเสียหาย เกดการรั่ว
ิ
์
์
์
“ค็อกซ-1” และ “ค็อกซ-2” ซึ่งการยับยั้ง ค็อกซ-1 จะ ของเม็ดเลือดขาวและสารอื่น ส่งผลให้เกิดการขัดขวาง
สัมพันธ์กับการท าให้เกิดโรคแผลในกระเพาะอาหาร ยา การไหลเวียนเลือดบริเวณนั้นและเกิดแผลเรื้อรังได้ แต่
ั
ในกลุ่มเอ็นเสดมีความเสี่ยงที่จะท าให้เกิดโรคแผลใน กลไกที่ส าคญเชอว่าเกยวข้องกบฤทธิ์ยบยงเอนไซมชนด
ั
ั
ื่
ี่
ั้
์
ิ
์
กระเพาะอาหารได้แตกต่างกัน ยาที่ยับยั้งค็อกซ-1 ได้ดี ค็อกซ์-1 จึงยับยั้งการสร้างสารพรอสตาแกลนดินที่
เช่น อินโดเมทาซิน (indomethacin), ไพร็อกซิแคม กระเพาะอาหาร ซึ่งที่กระเพาะอาหารนี้สารพรอสตา
ั่
(piroxicam), นาพร็อกเซน (naproxen) มีความเสี่ยงใน แกลนดินมีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกรด ยับยั้งการหลงแกสตริน
การท าให้เกิดโรคแผลในกระเพาะอาหารได้มากกว่ายาที่ (gastrin) ซึ่งเป็นฮอร์โมน ที่มีฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งกรด
์
เลือกยับยั้งค็อกซ-2 หรือยาที่เจาะจงยับยั้งค็อกซ-2 เช่น และยังกระตุ้นการหลั่ง ไ บ คาร์บอเนตและเมือก
์
เซเลค็อกสิบ (celecoxib), เอทอริค็อกสิบ (etoricoxib) (สิ่งเหล่านี้ช่วยเคลือบกระเพาะอาหาร) ดังนั้นสารพรอส
ตาแกลนดินจึงมีบทบาทในการช่วยปกป้องผนังกระเพาะ
อาหาร นอกจากนี้ยังช่วยให้เกล็ดเลือดเกาะกลุ่ม ท าให้
เลือดที่ไหลออกมากลายเป็นลิ่มเลือดและหยุดไหล ด้วย
เหตุนี้การใช้ยาในกลุ่มเอ็นเสดซึ่งยับยั้งการสร้างพรอสตา
แกลนดินจึงขาดสิ่งที่ช่วยลดการหลั่งกรดและสิ่งที่ช่วย
ปกป้องผนังกระเพาะอาหารดังกล่าว จึงเป็นเหตุชักน าให้
เกิดโรคแผลในกระเพาะอาหารได้
Line @ Army Club
ที่มา
https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/
ผู้น าเสนอ : พันตรี ศาฑิน มาโกมล
สวัสดิการสาร ตุลาคม 2565 7