Page 6 - ตุลาคม 2565
P. 6
ยาแก้ปวดกับการเกิด
กองกิจการสโมสร
“โรคกระเพาะ” www.armyclubthai.com
โรคแผลในกระเพาะอาหารจากยาแก้ปวด
ยาแก้ปวดมีมากมาย ซึ่งนอกจากยาพาราเซตามอลที่รู้จักกัน
ดีและใช้กันแพร่หลายแล้ว ยังมียาในกลุ่มกลุ่มโอปิออยด์
(opioids) เช่น ทรามาดอล (tramadol), เฟนทานีล (fentanyl),
โคเดอน (codeine), มอร์ฟีน (morphine) ซึ่งมีบทบาทมาก
ี
ในการบรรเทาอาการปวดเฉียบพลันและอาการปวดเรื้อรัง
โดยทั่วไปทั้งพาราเซตามอลและยาในกลุ่มโอปิออยด์ถือว่ามี
ความเสี่ยงต ่าที่จะท าให้เกิดโรคแผลในกระเพาะอาหารหรือ
“โรคกระเพาะ” ต่างจากยาในกลุ่มเอ็นเสด ซึ่งยาหลายชนิดใน
กลุ่มเอ็นเสดมีความเสี่ยงที่จะท าให้เกิดเลือดออกในทางเดิน
อาหาร ตลอดจนเกิดโรคแผลในกระเพาะอาหารได้โดยเฉพาะ
ยาแกปวดเป็นยาที่ใช้กันมากเพื่อบรรเทา เมื่อใช้ยาเป็นเวลานาน
้
อาการปวดจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น ปวดข้อ ปวดจากแผล
ผาตัด ปวดฟัน ปวดประจ าเดือน หรือปวดศีรษ ะ
่
ยาบางชนิดใช้ลดไข้และบรรเทาอาการอักเสบ อีกด้วย
เมื่อใช้ยาแก้ปวดมักเป็นที่กังวลว่ายาอาจมีผลเสียต่อ
ทางเดินอาหารโดยท าให้เกิดเลือดออกหรือเกิดโรคแผล
ในกระเพาะอาหาร (หรือ “โรคกระเพาะ”) โดยเฉพาะ
ยาในกลุ่มเอ็นเสด (NSAIDs) ที่รู้จักกันในชื่อว่า “ยาแก ้
ปวดข้อ” หรือเรียกอีกอย่างว่า “ยาแก้ข้ออักเสบ”
ยาในกลุ่มนี้มีหลายชนิดและมีความเสี่ยงที่จะ
ท าให้เกิดเลือดออกหรือเกิดโรคแผลในกระเพาะอาหาร
ึ
ได้แตกต่างกัน ยาแก้ปวดในบทความนี้ จึงกล่าวถงยาใน
กลุ่มเอ็นเสดเป็นหลัก โดยจะให้ข้อมูลถึงกลไกที่ยาท าให้
เกิดโรคแผลในกระเพาะอาหาร การเปรียบเทียบความ
เสี่ยงของยาต่อการเกิดโรคแผลในกระเพาะอาหาร
ปัจจัยส่งเสริม การเกิดโรคแผลในกระเพาะอาหารจาก
ยา และข้อแนะน าในการใช้ยาเพื่อลดความเสี่ยงต่อการ
เกิดโรคแผลในกระเพาะอาหาร
สวัสดิการสาร ตุลาคม 2565 6