Page 26 - 0967
P. 26
จุดประสงค์ของการยั่วยุคือการเพิ่มความกดดัน
ทางร่างกายและจิตใจ หรือการปั่นป่วนให้เสียสมาธิ ซึ่ง
ล้วนเป็นเรื่องที่นักกีฬาทุกคนรู้ว่าตัวเองจะต้องเจอและ
เตรียมรับมือมาเป็นอย่างดี แต่ในงานวิจัยหนึ่งพบว่า
ถึงแม้นักกีฬาจะรับมือกับการยั่วยุได้ อย่างไรก็ตามพวก
เขายังต้องใช้สมาธิและความพยายามมากยิ่งขึ้นเพื่อให้ผล
การแข่งขันเป็นไปตามเป้าหมาย โดยการยั่วยุมักจะถูก
น าไปใช้ในกีฬาที่มีการปะทะกันมากกว่า และมีการใช้
อย่างแพร่หลายในนักกีฬาชายมากกว่านักกีฬาหญิง
อีกเทคนิคหนึ่งที่ใช้ได้ดีคือการหัวเราะไปกับ
ผู้ยั่วยุ หรือที่เรียกว่าต่อต้านไม่ได้ก็ให้เข้าร่วมไปเสียเลย
แทนที่จะปล่อยเขาท าให้คุณหัวร้อน ก็เข้าร่วมและเห็น
ด้วยกับสิ่งที่เขาพูดหรือหัวเราะไปกับพวกนั้น เดี๋ยวก็เจื่อน
กันไปเอง อย่างสุดท้าย หากรู้สึกว่าการเงียบเท่ากับเป็น
การจ านนต่อการยั่วยุ ก็ให้ลองเปิดปากพูดตามปกติ
เพียงแต่ไม่ต้องสนใจฟังสิ่งที่อีกฝ่ายพูดถึง เพราะบางครั้ง
วิธีป้องกันที่ดีที่สุดอาจจะเป็นวิธีที่เราสบายใจกับมันมาก
ที่สุด
วิธีป้องกันและแก้ไข ไม่ว่าจะใช้วิธีใดก็ตาม สิ่งส าคัญคือนักกีฬาต้อง
การยั่วยุไม่สามารถห้ามไม่ให้เกิดขึ้นได้หาก บอกและเตือนตัวเองอยู่เสมอว่า การใช้ความรุนแรงตอบ
พฤติกรรมไม่เกินขอบเขตของกฎกติกา ดังนั้นวิธีป้องกันที่ โต้คือสิ่งที่ไม่สามารถยอมรับได้ และผลเสียที่ตามมานั้น
ดีที่สุดต้องเริ่มจากตัวเอง อย่างแรกคือต้องคิดบวกเข้าไว้ มากเกินกว่าจะใช้ค าว่าอารมณ์ชั่ววูบเพื่อขอความ
แทนที่จะใส่ใจกับค าพูดยั่วยุ ให้นึกถึงสิ่งที่ท าให้ตัวเอง เห็นใจกลับมา
สนุก, ตั้งสมาธิไปที่การเอาชนะ, กลยุทธ์ในการแข่ง หรือ กองการกีฬา กรมสวัสดิการทหารบก ได้จัดท า
คิดถึงสิ่งที่ตัวเองท าได้ดี ซึ่งจะช่วยเบนความสนใจไปจาก สื่อประชาสัมพันธ์ ทางแอปพลิเคชัน TIKTOK โดย
การยั่วยุและรักษาสมาธิให้อยู่ในเกมได้ ได้เน้นให้สาระความรู้ทางด้านกีฬา และภารกิจของหน่วย
วิธีต่อมาคืออย่าคล้อยตามค าพูดหรือการกระท า สามารถกดติดตามได้ทาง
เหล่านั้น เพราะการยั่วยุหวังให้เกิดปฏิกิริยาโต้ตอบ TIKTOK
นักกีฬาจึงต้องห้ามตัวเองไม่ให้งับเหยื่อ ซึ่งไม่ได้ กองการกีฬา
หมายความว่าควรนั่งเงียบ ๆ แต่ไม่ควรไปข้องเกี่ยวกับ
ค าพูดยั่วยุที่ไร้สาระ
ที่มา :
https://stadiumth.com/columns/detail?id=
306&tab=inter
ผู้น าเสนอ : ร้อยเอก พลากร ไกรพานนท์
สวัสดิการสาร กันยายน 2567 26