Page 11 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 11
งานรับบัวจะรูสึกดีใจเป็นอยางมาก อีกทั้งยังขันอาสาเขามา ไมวาในวันวานหรือวันนี้ “ชาวบางพลี” ตางศรัทธาในความ
ชวยเหลืองานใหญนอยอยางที่ไมตองมีใครเอยปากขอ ศักดิ์สิทธิ์ บารมี “หลวงพอโต” ที่คุมครองชาวตลาดบางพลี
ประเพณีรับบัว ตรงกับวันขึ้น 14 ค ่า เดือน 11 ก่อน ใหอยูรอดปลอดภัย ไมวาจะเป็นภัยทางธรรมชาติ ภัยจาก
ออกพรรษา 1 วัน อุบัติเหตุไฟไหม รวมถึงภัยทางเศรษฐกิจที่แมวาใครที่คิดดี
สําหรับสาเหตุที่เรียกวา “ประเพณีรับบัว” นั้นก็เพราะ ทําดี ขยันทํามาหากิน ทานก็เหมือนโปรดทุกคนไมเคยให
เป็นการสงดอกบัวใหกับมือ จึงเรียกวา “รับบัว” บางทีก็จะโยน ตองอด หรือลําบาก
ดอกบัวลงไปใหกันโดยไมมีพิธีรีตอง ทําใหการใหและ
การรับ แบบมือตอมือเสื่อมไป จนมีการพูดกันในระยะหลัง ๆ
มานี้ วา“โยนบัว” แทนที่จะเรียกวา “รับบัว”
ค าบูชา “หลวงพ่อโต”
ตั้งนะโม 3 จบ
อิมินาสักกาเรนะ พุทธะมหานุภาโว อิมินาสักกาเรนะ
วันเวลาผานไปเรื่อย ๆ คําวารับบัวก็คอย ๆ จางหาย จนคน ธัมมะมหานุภาโว อิมินาสักกาเรนะ สังฆะมหานุภาโว อิเมยัน
ไมนอยเขาใจไปวาประเพณีโบราณของชุมชนยานนี้ ตา มหาเตชา มหานุภาตะชาติกา
คือโยนบัว ยิ่งเมื่อผสมผสานกับภาพการโยนบัวลงไปใน มหามังคะละ สัมพุทธา อันตราเยวินาสะกา สัพพะถะ
เรือหลวงพอโตที่มีใหเห็นตามสื่อตาง ๆ มากมายก็ยิ่งทําให สุขะ สัมพุทธา อเนกาคุณันตา นานัปปะโก สัพพะทุกขัง
คําวาโยนบัวชัดเจนมากขึ้น สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วินาสสันติ สัพพะลาภัง สัพพะสุขัง
ว่ากันตามความศรัทธา ความเชื่อ “หลวงพ่อโต” ภะวันตุเมฯ
มีความศักดิ์สิทธิ์มากมายยิ่งนัก เล่าลือกันในเรื่องรักษา วัดบางพลีใหญ มีประวัติมายาวนาน ตั้งแตสมัยสุโขทัย
อาการเจ็บไข้ อาทิ เมื่อน าน ้าพระพุทธมนต์ไปรักษาเพื่อเป็น ความศักดิ์และอภินิหาร ที่มีปรากฏในหนาประวัติศาสตรแ
สิริมงคล ก็ปรากฏเห็นผลว่าอาการได้ทุเลาเบาบางถึงขั้น หลังจากอานแลวทานผูอาน อาจจะตองรีบหาเวลาไปนมัสการ
หายเป็นปกติได้เลยทีเดียวเชียว หลวงพอโต ใหไดสักครั้งในชีวิต
หรือแมกระทั่งเหรียญเชาบูชาก็เลื่องลือวาศักดิ์สิทธิ์ ในฉบับหนาจะเป็นหลวงพอองคแใด และควรขอพร
นักแล ชาวบานนํามาสวมใสแกบุตรหลาน เลาลือกันตอ ๆ เรื่องใดบาง ฝากติดตามกันในฉบับหนากันนะคะ
กันมาวาเมื่อพลัดตกลงไปในนํ้ากลับลอยตัวไดโดยไมเป็น
อันตรายแตอยางใด จริงเท็จประการใดไมทราบไดวาจะมีใคร
กลาทาพิสูจนแหรือเปลา
ยิ่งไปกว่านั้น ราว ๆ กลางปี 2520 องค์พระซึ่งเป็น
ทองค าส าริดกลับนิ่มเฉกเช่นเนื้อมนุษย์จนเป็นข่าวดังแพร่ ที่มา :
สะพัดในสื่อหนังสือพิมพ์ทุกฉบับ แน่นอนว่าชาวบ้านผู้ที่ https://www.thairath.co.th/lifestyle/culture/2689957
เลื่อมใสศรัทธาในองค์หลวงพ่อโตจากทั่วทุกสารทิศก็ต่าง
เดินทางพากันมาชื่นชมบารมี ไมนาเชื่อก็ตองเชื่ออีกวา ผู้น าเสนอ : พันโทหญิง พรพิมล รักษาแก้ว
วันเวลาผานไปอีกเพียงสองปีเทานั้นก็เกิดปรากฏการณแดังเชน
ที่วามาขางตนนี้อีกครั้ง นับเป็นเรื่องเหลือเชื่อ สุดมหัศจรรยแใจ
จริง ๆ
สวัสดิการสาร กรกฎาคม 2567 11