Page 10 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 10
กองการฌาปนกิจ
www.chapanakit-rta.com
“หลวงพ่อโต” วัดบางพลีใหญ่ ในจังหวัดสมุทรปราการ
ละครเจากรับ รําถวาย รวมถึงมีการละเลนอื่น ๆ ครื้นเครง
คลื่นศรัทธาจากผู้คนหลั่งไหลไม่ขาดสาย ด้วยความศรัทธา มาตลอดทั้งลํานํ้า
ความเชื่อ และตั้งใจมาท าบุญเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตัวเอง ครั้นมาถึงบริเวณหนาวัดพลับพลาชัยชนะสงคราม
ครอบครัว เพื่อนฝูง และญาติสนิทมิตรสหาย
หรือ “วัดบางพลีใหญใน” ปรากฏวาแพที่ผูกชะลอองคแทานก็
เกิดหยุดนิ่ง แมวาจะมีความพยายามที่จะออกแรงจํ้าพาย
เพื่อจะไปตอ แตก็หาขยับเขยื้อนใด ๆ ไม แนนอนวาสิ่งที่
เกิดขึ้นสราง ความตกใจและประหลาดใจกับผูคนที่อยูรวมใน
ขบวนเป็นที่ยิ่ง ตางพากันกมกราบนมัสการดวยความเคารพ
ศรัทธา รวมใจตั้งจิตอธิษฐานวา “ถาหลวงพอจะโปรดคุมครอง
ชาวบางพลีใหไดรับความรมเย็น เป็นสุขแลวก็ขออาราธนา
อัญเชิญหลวงพอทาน ใหขึ้นจากนํ้าโดยงายเถิด”
แลวก็เกิดปาฏิหาริยแ อยางไมนาเชื่อ ดวยกําลังคน
หลวงพอโต เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย เบิกเนตร ขัดสมาธิ ไมมากนักก็สามารถอาราธนาพระพุทธรูปขึ้นไปประดิษฐาน
ศิลปะสมัยสุโขทัย พลิกบันทึกประวัติ เลาวากวา 200 ปีลวงมาแลว ในพระวิหารได เพียงแตตองรอเขาทางขางวิหารเพราะ
มีพระพุทธรูป 3 องคแ บังเกิดปาฏิหาริยแไหลลองมาตาม
ยังสรางไมเสร็จบวกกับประตูก็มีขนาดเล็ก
ลํานํ้าเจาพระยาประมาณการกันวา ชาวบานสมัยอยุธยา
อาราธนาทานลงสูแมนํ้าเพื่อหลบหลีกขาศึกศัตรูที่เขารุกราน
สยามประเทศ
ราวปาฏิหาริยแเมื่อหลวงพอโตเป็นพระพุทธรูปองคแ
สุดทายที่ลอยวกกลับเขามาในคลองสําโรงจนชาวบานได
พบเห็นตางเป็นที่อัศจรรยแใจในความศักดิ์สิทธิ์ของทาน มุงหมาย
อาราธนาใหขึ้นที่ปากคลองสําโรง แตปรากฏวาพระพุทธรูป
ตรวจถูกตองวิถีชีวิตผูคนชุมชนในละแวกวัด แนนอนวามีจิตใจ
ไมไหวติงใด ๆ ทั้งสิ้น เลื่อมใสศรัทธา “หลวงพอโต” มาอยางตอเนื่องยาวนานแลว สะทอน
กระทั่งผูมีปใญญาคนหนึ่งไดออกความเห็นวา คงฉุดลาก
ขึ้นฝใ่งไมสําเร็จเป็นแนแท เห็นควรที่จะเสี่ยงทายตอแพผูกชะลอ ออกมาจนเป็นอัตลักษณแชุมชนที่ยอมรับรวมกันวาหลวงพอ
กับองคแพระเอาไวแลวใชเรือพายฉุดใหลอยมาตามลํานํ้า ทานเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจอยางยิ่งยวด ไมวาจะเป็นศรัทธา
ในเรื่องการแวะเวียนเขามากราบสักการะขอพร เชาบูชา
พรอมอธิษฐานกันวา “หากทานประสงคแจะขึ้นโปรด
ที่ใดก็ขอจงไดแสดงอภินิหารใหแพที่ลอยมาจงหยุด ณ ที่แหงนั้น พระพุทธรูป หากมีเรื่องไมสบายใจ ทุกรอนใจใด ๆ ก็จะ
เถิด” มาบนบานศาลกลาว อีกทั้งเวลามีงานบุญตาง ๆ หลวงพอโตก็
ประเด็นที่นาประหลาดอาจดวยความบังเอิญหรืออยางไร ยังเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ระลึกนึกถึง
ไมทราบได เรือพายที่ใชลากจูงนั้นลวนมีชื่อที่แปลกหู นอกจากนี้ยังมี “ประเพณีรับบัว” หนึ่งในประเพณี
อาทิ มานํ้า เป็ดนํ้า ตุ฿กแก พรอม ๆ กันนี้ ยังมีการจัดใหมี เกาแกที่สืบทอดกันมาตั้งแตอดีต ที่สําคัญยังมีเพียงหนึ่ง
เดียวเทานั้นในประเทศไทย ผูคนในชุมชนเมื่อใกลถึง
สวัสดิการสาร กรกฎาคม 2567 10