Page 33 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 33

งานประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี ประจ าปี 2568



                           มรดกวัฒนธรรมอันวิจิตรตระการตา


                                                                                       กองแผนและโครงการ
                                                                                      www.awd-plan.com










































          ประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี     ได้คิดให้มี การแห่ขบวนเทียนพรรษารอบเมืองเป็นครั้งแรก
   เป็นงานบุญประเพณีที่ยิ่งใหญ่ของจังหวัดมาอย่าง     เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2444 เนื่องมาจาก ในสมัยแรก ๆ

   ยาวนาน ที่จัดสืบทอดติดต่อกันมากว่า 118 ปี โดยทุก     ยังไม่มีการประกวดเทียนพรรษาแต่ชาวบ้านจะร ่าลือกันไปว่า
   ภาคส่วนของจังหวัด จะสนับสนุนให้มีการท าเทียนพรรษา     เทียนคุ้มวัดนั้นงาม เทียนคุ้มวัดนี้สวย ท าให้เห็นว่าควรให้มี

   ตลอดทั้งเดือน ก่อนจะถึงวันเข้าพรรษาโดยจะใช้ “ขี้ผึ้ง”  การประกวดเทียนพรรษา แล้วแห่รอบเมือง ก่อนจะน าไป
   ในการท าเทียนซึ่งในสมัยโบราณนั้นจะน าเทียนเล่มเล็ก ๆ    ถวายพระที่วัด
   โดยมีการมัดรวมกันให้เป็นเทียนเล่มใหญ่ และจัดขบวน             ในปี 2483 ในจังหวัดอุบลราชธานี นาย โพธิ์ ส่งศรี

                                                                    ิ
   น าไปถวายวัด การรวมเทียนพรรษาเป็นกลุ่มนี้เป็นการแสดง  ได้เริ่มท าแม่พมพ์ปูนซีเมนต์เพื่อหล่อขี้ผึ้ง ท าเป็นลวดลายไทย
   ถึงความสามัคคีในหมู่คณะนั่นเอง ต่อมาในการท าเทียนนั้น   ไปประดับติดพิมพ์บนเทียนพรรษา นับเป็นการจัดท าเทียน

   เริ่มมีการพัฒนา โดยมีการแกะสลักเข้ามาร่วมซึ่งจะน าขี้ผึ้ง   พรรษาแกะสลักของช่างราษฏร์เป็นครั้งแรก และนาย สวน
   มาหล่อเป็นเทียนเล่มใหญ่ จากนั้นช่างฝีมือจะมาแกะสลักเป็น  คูณผล ก็ได้ท าลวดลายนูนสลับสีต่าง ๆ เข้าประกวดเทียน
   ลวดลายสวยงามต่าง ๆ โดยเฉพาะลวดลายของอีสานดั้งเดิม     พรรษาจนชนะเลิศ

          จากนั้นในปี 2444 กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์              จนในช่วงหลังปี 2511 นาย อุตสาห์ และนายสมัย
   ข้าหลวงต่างพระองค์ของรัชกาลที่ 5 ผู้มาปกครองหัวเมือง  แสงวิจิตร ได้เริ่มมีการจัดท าเทียนพรรษาขนาดใหญ่โตท า

   มณฑลอีสาน และอยู่พ านักที่เมืองอบลราชธานี                 เป็นหุ่นและเรื่องราวต่าง ๆ ซึ่งเป็นลักษณะของเทียนพรรษา
                               ุ


                                 สวัสดิการสาร                  มิถุนายน 2568                            33
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38