Page 8 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 8
13 มีนาคม “วันช้างไทย”
กองการสงเคราะห์
www.songkhro.com
เนื่องจากเป็นช้างที่หายากและมีสถานภาพ
ที่ศักดิ์สิทธิ์ ช้างเผือกจึงกลายเป็นสัญลักษณ์แห่งพระราช
อ านาจของกษัตริย์ โดยขอบเขตอ านาจของพระมหากษัตริย์
แต่ละพระองค์ขึ้นอยู่กับจ านวนช้างเผือกที่ทรงครอบครอง
ช้างเผือกที่ได้รับเลือกให้เป็นช้างคู่พระบารมี จะถูกคัดเลือก
จากสายพันธุ์ที่ดีที่สุดและต้องมีคุณสมบัติครบถ้วน ได้แก่
ตาขาว เพดานขาว เล็บขาว ขนขาว พื้นหนังขาว ขนหางขาว
และอัณฑโกสขาว
- การใช้ช้างเพื่อเป็นพาหนะ ขนของต่าง ๆ ด้วยรูปร่าง
13 มีนาคม “วันช้างไทย” ร่วมอนุรักษ์สัตว์ สูงใหญ่ มีพละก าลังมากและมันสมองฉลาด มนุษย์จึงน า
คู่บ้านคู่เมือง ชวนท าความรู้จัก “วันช้างไทย” สัตว์คู่ชาติไทย ช้างมาเป็นพาหนะทุ่นแรงในการเดินทางและขนของต่าง ๆ
ที่ค่อย ๆ ถูกลดทอนลงจากน ้ามือมนุษย์ - ในรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สยามเคยใช้
ช้างถือเป็นสัตว์ที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาแสนนาน ธงชาติเป็นรูปช้างเผือก ชาวไทยเชื่อกันว่าช้างเผือกเป็น
สัตว์คู่บารมีของพระมหากษัตริย์ ช้างเผือกจึงได้รับการ
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ช้างเปรียบเสมือนเป็นอีกคน
ในครอบครัว แต่ในปัจจุบันความส าคัญของช้างถูกลดทอน ยกย่องเสมือนเจ้านายชั้นเจ้าฟ้า
ลงเรื่อย ๆ ด้วยสภาพแวดล้อมของป่าที่ค่อย ๆ หายไป - ช้างได้เข้ามามีส่วนในการปกป้องเอกราชให้แก ่
ถูกแทนที่ด้วยสิ่งปลูกสร้างของมนุษย์ การน าช้างมาเร่ร่อน ชาวไทยหลายยุคหลายสมัย ตั้งแต่อดีตจนถึงช่วงต้น
ขายอาหาร การล่าตัดงามาขาย ท าให้คณะรัฐมนตรีได้มีมติ กรุงรัตนโกสินทร์เลยทีเดียว โดยเหตุการณ์ที่มีการยกย่อง
เสนอให้วันที่ 13 มีนาคม ของทุกปี เป็นวันช้างไทย เพื่อให้ ช้างไทยมากที่สุดคือ ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
คนหันกลับมาเห็นความส าคัญของการอนุรักษ์ช้างไทยมาก ทรงท ายุทธหัตถีบนหลังช้างแล้วสร้างชัยชนะเหนือ
ยิ่งขึ้น พระมหาอุปราชา ท าให้ช้างไทยเชือกนี้ได้รับพระราชทาน
ความส าคัญของช้างไทย ยศให้เป็นถึง “เจ้าพระยาปราบหงสาวดี”
- ช้างมีบทบาทส าคัญในประวัติศาสตร์และ
วัฒนธรรมของไทยมาตั้งแต่สมัยโบราณ โดยจุดเริ่มต้นของ
อารยธรรมไทยตั้งแต่ในช่วงศตวรรษที่ 13 นั้น ช้างถือเป็น
สัตว์คู่บารมีของพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่สมัย
ราชอาณาจักรสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี จวบจนถึง
กรุงรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน โดยส าหรับชาวไทย ช้างเป็น
สัตว์ที่สูงส่ง มีความชาญฉลาดและคู่ควรกับการด ารง
ต าแหน่งเคียงข้างพระมหากษัตริย์เป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะ
ช้างเผือกที่ได้รับเลือกให้เป็นช้างในพระราชพิธีต่าง ๆ
สวัสดิการสาร กุมภาพันธ์ 2568 8