Page 20 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 20
หลังจากรู้จัก 5 รูปแบบชักชวนลงทุนที่ต้องระวัง เมื่อพบเห็นหรือถูกชักชวนลงทุนที่น่าสงสัยแจ้งใคร ?
ไปแล้ว ถ้าหากการชักชวนนั้นได้พ่วงลักษณะเหล่านี้ จะต้องระวัง หากพบเห็นหรือถูกชักชวนลงทุนที่สงสัยว่าจะเป็นแชร์ลูกโซ่
เป็นพิเศษ เพราะอาจเข้าข่ายเป็นกลโกง “แชร์ลูกโซ่” สามารถแจ้งเบาะแสไปยังหน่วยงานทเกี่ยวข้อง ได้แก่
ี่
➢ เน้นสร้างเครือข่ายมากกว่าขายของ ➢ ศูนย์รับแจ้งการเงินนอกระบบ ส านักงานเศรษฐกิการคลัง
➢ ให้ชักชวนคนมาร่วมมาก ๆ โทร. 1359
➢ ได้รับผลตอบแทนเพิ่ม ถ้าชวนคนมาเป็นสมาชิก เช่น ปกติได ➢ กรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) โทร. 1202
้
10% ต่อสัปดาห์ จะได้ผลตอบแทนเพิ่มอีก 5% ต่อสัปดาห์ ➢ กองบัญชาการต ารวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรม
เป็นต้น ทางเทคโนโลยี โทร. 1441
➢ หรือแจ้งความออนไลน์ได้ที่ เว็บไซต์
www.thaipoliceonline.com
แชร์ลูกโซ่ เป็นกลโกงที่หลอกให้ประชาชนลงทุนหรือ
ขายสินค้า โดยอ้างว่าจะได้รับก าไรจ านวนมาก ในเวลา
อันรวดเร็ว มักจะจ่ายเงินให้จริงในระยะแรก เพื่อให้หลงเชื่อ
ื
ทั้งที่จริงแล้วไม่ได้ประกอบธุรกิจอะไรเลย เม่อถึงจุดที่ไม่สามารถ
่
หาสมาชิกใหมเพิ่ม จนไม่สามารถจ่ายเงินได้ หรือได้เงินจ านวน
มากพอแล้วก็จะหลบหนีไป สร้างความเสียหายให้แก่ประชาชน
เป็นจ านวนมาก หากถูกชักชวนลงทุนต้องระมัดระวัง ให้มาก
ิ
และควรลงทุนกับผู้ประกอบธุรกจที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น
Tips สร้างเกราะป้องกันภัย ไม่ตกเป็นเหยื่อแชร ์
ลูกโซ่หลอกลงทุน
1. ศึกษาหาความรู้ก่อนลงทุน มิจฉาชีพมักอาศัย
ความไม่เข้าใจหุ้นหรือการขายสินค้ามาชักชวน จึงควรศึกษาความรู้
การลงทุนเพราะการลงทุนมาพร้อมกับความเสี่ยงที่การันตี
ผลตอบแทนที่แน่นอนไม่ได้ ที่มา : https://www.sec.or.th/TH/Pages/SCAMCENTER-
2. มีสติ คิดก่อนตัดสินใจ เมื่อถูกชักชวนให้ลงทุน หรือ 01-03.aspx
บีบให้ตัดสินใจ เน้นหาเครือข่ายโดยให้ผลตอบแทนสูง แต่จับต้อง
ธุรกิจนั้นไม่ได้ ต้องระวังให้มาก หากเป็นการชักชวนลงทุน/ ผู้น าเสนอ : พันโทหญิง ปาริชาติ นิลเขียว
ระดมทุนในหลักทรัพย์หรือสินทรัพย์ดิจิทัลควรตรวจสอบว่าได้รับ
อนุญาตหรือไม่จากแอปพลเคชัน SEC Check First
ิ
3. รู้ผลกระทบที่มากกว่าเสียเงิน หากหลงเชื่อและ
ตกเป็นเหยื่อสูญเสียเงินไปแล้ว แต่ถ้าเราไปชักชวนคนอื่นมาลงทุน
แชร์ลูกโซ่ ก็อาจมีความผิดตามกฎหมายเช่นกัน
4. ตื่นตัวและติดตามข่าวสารใหม่ ๆ ที่เกี่ยวกับการแชร์
ลูกโซ่หรือการหลอกลวงลงทุนต่าง ๆ อยู่เสมอ เพราะมีวิธีหลอกลวง
ใหม่ ๆ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สวัสดิการสาร พฤศจิกายน 2567 20