Page 27 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 27
อาหารส าหรับเด็กที่เป็นโรคไต
กองกิจการร้านสวัสดิการกลาง
www.awds-rta.com
เด็กปกติทั่วไป เพราะส าคัญต่อการเจริญเติบโตและ
พัฒนาการ เด็กอาจมีอาการเบื่ออาหารท าให้รับประทาน
ได้น้อย และในกรณีเด็กที่ต้องรับการล้างไตทางช่องท้อง
ควรได้รับโปรตีนเพิ่มเพื่อทดแทนส่วนที่เสียจากการล้างไต
2. ปริมาณน ้าและเกลือ (โซเดียม)
เด็กที่เป็นโรคไตเรื้อรังจะมีความต้องการน ้าและเกลือมาก
น้อยแตกต่างกันไป โรคไตเรื้อรังจากสาเหตุบางอย่างอาจ
ท าให้ปัสสาวะมากจนร่างกายสูญเสียน ้าและเกลือทางไต
มากเกินควร จึงจ าเป็นต้องได้รับน ้าและอาหารที่มีเกลือ
อาหารส าหรับเด็กที่เป็นโรคไต ทดแทน ส่วนในผู้ป่วยที่ปัสสาวะน้อยและผู้ป่วยโรคไต
รู้หรือไม่? เด็กๆ ก็เป็นโรคไตได้ โรคไตที่พบบ่อยในเด็กไทย เรื้อรังระยะสุดท้ายจะมีน ้าและเกลือในร่างกายเกินความ
ได้แก ่ ต้องการ อาจต้องจ ากัดปริมาณน ้าและอาหารที่มีเกลือสูง
1. การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ อาจเกิดจากการ 3. ปริมาณโพแทสเซียม
ขับถ่ายปัสสาวะไม่ถูกสุขลักษณะ หรือความผิดปกติของ โดยทั่วไปผู้ป่วยมักไม่จ าเป็นต้องจ ากัดโพแทสเซียม ยกเว้น
โครงสร้างของไตและระบบทางเดินปัสสาวะตั้งแต่ก าเนิด ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ในรายที่มีปัญหา
ปัสสาวะออกน้อยหรือมีโพแทสเซียมสูงในเลือด อาจต้อง
2. กลุ่มอาการเนโฟรติกหรือโรคไตรั่ว เด็กจะสูญเสียโปรตีน จ ากัดโพแทสเซียมโดยการงดอาหารที่มีโพแทสเซียมสูง
ไข่ขาวไปทางปัสสาวะท าให้บวมไปทั้งตัว และอาจใช้ยาเพิ่มการขับถ่ายโพแทสเซียมออกจาก
3. โรคไตอักเสบ อาจเกิดภายหลังการติดเชื้อแบคทีเรียที่ ร่างกาย
ล าคอหรือผิวหนัง หรือเกิดจากโรคเอสแอลอี (โรคภูมิ 4. ปริมาณฟอสเฟต
ต้านทานท าลายเนื้อเยื่อตนเอง) ผู้ป่วยจะมีอาการบวมหรือ เมื่อการท างานของไตเสื่อมลง ผู้ป่วยมักมีปัญหาฟอสเฟต
ปัสสาวะเป็นเลือด/สีน ้าล้างเนื้อ เด็กที่เป็น “โรคไตเรื้อรัง” ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น ท าให้กระดูกเปราะ และมีการ
ควรรับประทานอาหารส าหรับเด็กที่เป็นโรคไต โดยได้รับ เจริญเติบโตผิดปกติ แพทย์จะพิจารณาให้ใช้ยาจับ
พลังงานและสารอาหารอย่างเพียงพอ ซึ่งต้องปรับเลือก ฟอสเฟตในทางเดินอาหาร และขับทิ้งไปพร้อมอุจจาระ
ชนิดและปริมาณของอาหารให้เหมาะสมกับสภาวะ ยากลุ่มนี้จึงต้องรับประทานพร้อมมื้ออาหาร พร้อมมื้อนม
ของโรคในผู้ป่วยแต่ละคน การรับประทานอาหารให้ และของว่างที่มีฟอสเฟตสูง โดยทั่วไปแพทย์มักแนะน าให้
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีฟอสเฟตสูง แต่ในผู้ป่วยเด็กยังคง
เหมาะสมเป็นสิ่งส าคัญอย่างยิ่งในการป้องกันภาวะแทรกซ้อน แนะน าให้รับประทานเนื้อสัตว์และนมจากสัตว์เพื่อ
และชะลอการเกิดภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย เด็กเป็น เสริมสร้างการเจริญเติบโต
โรคไตเรื้อรังควรควบคุมและหลีกเลี่ยงอาหารบางชนิด โรคไตเรื้อรังสามารถท าให้เกิดการเสื่อมของไตเพิ่ม
เนื่องจากไตไม่สามารถท างานได้ปกติ การได้รับสารอาหาร มากขึ้นได้ตามระยะเวลา อาหารส าหรับเด็กที่เป็นโรคไต
บางชนิดมากเกินไปอาจท าให้เกิดผลร้ายต่อไตได้ ควรปรึกษาแพทย์เป็นระยะเพื่อขอรับค าแนะน าทาง
1. ปริมาณพลังงานและโปรตีน โภชนาการที่เหมาะสมส าหรับตนเอง
เด็กที่เป็นโรคไตเรื้อรังควรได้รับพลังงานและโปรตีนเท่ากับ
สวัสดิการสาร มิถุนายน 2568 27