Page 10 - 0867
P. 10

ความเป็นมาของธงชาติไทย




                                                                                        กองการสงเคราะห    ์
                                                                                    www.songkhro.com

                                                                ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
                                                                         ้
                                                        นภาลัย ทรงเพิ่มรูปชางเผือกในรูปจักรสีขาวเพื่อใช้ส าหรับ
                                                        เรือหลวง เนื่องจากประเทศไทยได้ช้างเผือก 3 เชือก
                                                        ส่วนเรือราษฎรใช้ธงสีแดงอย่างเดิม










           พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6)
                                                             พ.ศ. 2394 – พ.ศ. 2459  พ.ศ. 2459 – พ.ศ. 2460  พ.ศ. 2460
    ทรงออกแบบธงไตรรงค์ และได้ให้ความหมายของสีที่อยู่ใน
    ธงชาติ ดังนี้ สีแดง หมายถึง เลือดอันยอมพลีเพื่อธ ารงค ์     ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมี

    รักษาชาติและศาสนา สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์แห่งศาสนา  พระราชด าริว่า ธงสีแดงที่เรือราษฎรใช้นั้น ซ ้ากับประเทศอื่น
    สีน ้าเงิน หมายถึง สีส่วนพระองค์ของพระมหากษัตริย์    ท าให้สังเกตได้ยาก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เรือราษฎร

           ธงชาติไทยหรือธงไตรรงค์ เป็นสัญลักษณ์ของ       ใช้ธงสีแดงมีรูปช้างสีขาวอยู่ตรงกลาง ส่วนเรือหลวงใช้ธงสีขาบ
    ประเทศไทย แสดงถึงเอกลักษณ์และศักดิ์ศรีในความเป็นไทย  มีรูปช้างสีขาวอยู่ตรงกลาง และในสมัยพระบาทสมเด็จ
    มีความหมายถึงความเป็นเอกราช สถาบันชาติ ศาสนา         พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการตราพระราชบัญญัต
                                                                                                           ิ
    พระมหากษัตริย์ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในชาต  ิ  ที่เกี่ยวข้องกับธง คือ พระราชบัญญัติว่าด้วยแบบอย่าง
    เพื่อจะได้ด ารงไว้ซึ่งความเป็นปึกแผ่นของประเทศไทย     ธงสยาม รัตนโกสินทรศก 110 พระราชบัญญัติธงรัตนโกสินทรศก

    ให้ยั่งยืนตลอดไป                                     116 พระราชบัญญัติธงรัตนโกสินทรศก  1 8   และใน
                                                                                                1
                                                         พ.ศ. 2453  ได้มีการตรา พระราชบัญญัติธงรัตนโกสินทรศก 129

                                                         ซึ่งก าหนดให้ธงชาติเป็นรูปช้างเผือกบนพื้นสีแดง
                                                                    .
                                                                พ.ศ   2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
                                                         เจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชด าริว่า เมื่อมองธงชาติซึ่งใช้อยู่
                                                         ในขณะนั้นจากระยะไกลมีลักษณะไม่ต่างจากธงราชการ
       พ.ศ. 2199 – พ.ศ. 2325  พ.ศ. 2325 – พ.ศ. 2352  พ.ศ. 2352 – พ.ศ. 2394
                                                         และรูปช้างที่อยู่กลางธงก็ไม่สง่างามเพียงพอ ทรงพระกรุณา
           ย้อนไปในสมัยอยุธยา ได้มีการใช้ธงสีแดงเป็นธงชาต ิ  โปรดเกล้าฯ ให้ออกประกาศเพิ่มเติมและแก้ไขพระราชบัญญัติ

    ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า    ธงรัตนโกสินทรศก 129 ให้ธงชาติเป็นพื้นสีแดง มีรูปช้างเผือก
    จุฬาโลกมหาราชทรงมีพระราชด าริว่า เรือหลวงกับเรือราษฎร  ทรงเครื่องยืนแท่นหันหน้าเข้าข้างเสาธงใช้เป็น ธงราชการ

    ใช้ธงสีแดงเหมือนกัน ควรมีเครื่องหมายส าคัญให้เห็นต่างกัน  ต่อมาได้ยกเลิกใช้ธงชาติแบบช้างเผือกทรงเครื่องยืนแท่น
    ทรงให้เพิ่มรูปจักรสีขาวอันเป็นเครื่องหมายแห่งราชวงศ์จักรี  ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้ธงชาติแบบสีแดงสลับสีขาว
    ลงบนธงสีแดง เพื่อใช้ส าหรับเรือหลวง นับเป็นครั้งแรก           ห้าริ้ว

    ที่แยกธงส าหรับเรือหลวงและเรือราษฎร



                             สวัสดิการสาร                      สิงหาคม 2567                              10
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15