Page 10 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 10
โควิดสายพันธุ์ใหม่ XBB.1.16 ล่าสุด
ปี 2566 เป็นอย่างไร กองกิจการสโมสร
www.armyclubthai.com
โควิดสายพันธุ์ใหม่ XBB.1.16 อาการล่าสุดเป็นอย่างไร
- อุณหภูมิในร่างกายสูง
- มีไข้สูง
- ระคายเคืองดวงตา ใบหน้า
- ไอ
- เจ็บคอ
- น ้ามูกไหล
- การรับกลิ่นของจมูกผิดปกติ
ฤดูร้อน ปี 2566 ล่าสุดนี้ ยังมีการแพร่กระจาย - ส าหรับต่างประเทศมีรายงานผู้ติดเชื้อเยื่อบุตาอักเสบ
ของเชื้อไวรัสโควิดสายพันธุ์ใหม่ ซึ่งเป็นลูกผสมจากโอมิครอน
อย่าง XBB.1.16 (Arcturus) โดยเฉพาะช่วงเทศกาล
่
สงกรานต์ที่ผานมา ผคนออกเดนทางไปพบปะสงสรรค ์
ู้
ั
ิ
้
ั
กนมากขน รวมทั้งชาวต่างชาติที่เขามาในประเทศไทย
ึ้
เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญด้านสาธารณสุขจึงติดตามเฝ้าระวัง
โควิดสายพันธุ์ใหม่ XBB.1.16 คืออะไร
เป็นเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 สายพันธุ์ XBB
จากลูกผสมตระกูล Omicron BA.2.10.1 และ BA.2.75
มีรายงานการค้นพบครั้งแรกที่ประเทศอินเดีย เมื่อเดือน โควิดสายพันธุ์ XBB.1.16 และ XBB.1.5
มกราคม 2566 องค์การอนามัยโลกจัดเป็นเชื้อที่ต้องเฝ้า โควิดสายพันธุ์ XBB.1.5 จะแตกต่างจาก XBB.1.16
ติดตาม การกลายพันธุ์เกิดขึ้นที่บริเวณ 483 ระดับภูมิ ตรงที่ต าแหน่งการกลายพันธุ์บนโปรตีนหนาม F846P
ี
ตอบสนองชนิด Neutralizing Antibody ลดลง จึงเพิ่ม เพยงอย่างเดียว เป็นลูกผสมของโอมิครอน Bj.1และ
ความสามารถในการแพร่เชื้อหรือก่อโรค แต่ยังไม่มี BM.1.1.1 การกระจายแพร่เชื้อมีความเป็นไปได้ที่จะไว
หลักฐานงานวิจัยใดที่อ้างถึง XBB.1.16 จะก่อความรุนแรง น้อยกว่าเพียงเล็กน้อยและการหลบภูมิคุ้มกันก ็
เช่นเดียวกัน
ส าหรับสิ่งที่คล้ายคลึงกัน คือ อาการความรุนแรงที่
เจ้าหน้าที่สาธารณสุขยังหาข้อสรุปไม่ได้ ส่งผลกระทบต่อ
ระบบหายใจ มีการประกาศเปิดเผยในช่วงเดือนมีนาคมที่
ผ่านมา มีการส่งข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ในไทยที่
ถอดรหัสพันธุกรรมเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลรหัสพันธุกรรม
โควิดโลก (GISAID) ผ่าน Outbreak.info ร่วมกับองค์การ
อนามัยโลกพบว่า XBB.1.5 สายพันธุ์หลักในประเทศไทย
ที่ต้องเฝ้าระวัง
สวัสดิการสาร มิถุนายน 2566 10